Page 18 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 18

9

                  1.3    กรอบการศึกษาวิจัย


                         โครงการวิจัยนี้ เปนการศึกษาวิจัยที่มุงเนนการศึกษาสภาพปญหา อุปสรรค ทบทวนกรอบนโยบาย
                  การพัฒนาประเทศและหลักการคุมครองสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของกับผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ
                  เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุมครองสิทธิมนุษยชนเรื่องเสรีภาพในการ

                  ประกอบอาชีพ นโยบายในการปกปองรักษาสิทธิในการทํามาหากินของคนไทย วิถีชุมชนทองถิ่น โอกาสของ
                  การเขาถึงและไดใชทรัพยากรอยางเทาเทียมกัน ทั้งนี้ เพื่อประโยชนตอการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน
                  โดยคํานึงถึงหลักความยุติธรรมระหวางคนหลากหลายรุนในสังคม (Intra-generational Equity)

                  1.4    สมมติฐานงานวิจัย


                         ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีที่ไมมีมาตรการรองรับเพื่อใหเกิดการแขงขันที่เทาเทียมและเปนธรรม
                  เปนสาเหตุสําคัญของความไมเปนธรรมในสังคมอันเปนผลตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน การเปดเสรีตอ

                  การคาปลีกโดยปราศจากการดูแล นําไปสูการละเลยของรัฐในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
                  อันเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน

                  1.5   นิยามคําศัพท


                         1.5.1 ความหมายของธุรกิจคาปลีก

                         ธุรกิจคาปลีก (Retailing Business)  หมายถึง การประกอบธุรกิจในทางพาณิชยกรรมที่จําหนาย
                  สินคาที่เปนเครื่องอุปโภคและบริโภคใหแกผูบริโภค ซึ่งการประกอบธุรกิจดังกลาวมีทั้งผูประกอบการ
                  รายใหญที่เปนกลุมทุนชาติ กลุมทุนตางชาติ หรือหนวยยอยในระดับหมูบาน หรือชุมชนที่เรียกวา “รานคา

                  ของชํา” หรือ “รานคาโชหวย” หรือขนาดยอยแบบลักษณะของหาบเรแผงลอย (Peddler or Cases)

                         1.5.2 บทบาทของธุรกิจคาปลีก

                                1)  ธุรกิจคาปลีกทําหนาที่เปนหนวยกิจกรรมที่ทําหนาที่เชื่อมโยงระหวางผูผลิตกับผูบริโภค
                  ในฐานะบทบาทเปนคนกลางในการดําเนินกิจกรรมการคาปลีก หรือสถาบันทางการตลาด

                                2) ธุรกิจคาปลีกทําหนาที่ใหบริการและสนับสนุนสินคาอุปโภคและบริโภคแกประชาชน

                                3) ธุรกิจคาปลีกทําหนาที่กระจายสินคาของผูผลิต

                         1.5.3 ประเภทของธุรกิจคาปลีก

                         ปจจุบันการประกอบธุรกิจคาปลีก มีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางจากธุรกิจคาปลีกเปนระบบการ
                  คาปลีก (Distribution Sector)  กลาวคือ ธุรกิจที่ทําหนาที่สงผานสินคา ซึ่งประกอบดวยธุรกิจคาสง

                  นําสินคาสูรานคารายยอย สวนคาปลีกเปนธุรกิจที่นําเสนอสินคาสูผูบริโภคโดยตรง ซึ่งไดมีการเปลี่ยนแปลง
                  โดยผสมผสานทั้งคาปลีกและคาสงในระบบการคาปลีกในปจจุบัน เนื่องจากแตเดิมนั้นธุรกิจคาปลีก คือ
                  ธุรกิจที่ทําหนาที่เชื่อมโยงระหวางผูผลิตไปยังผูบริโภค โดยตนเองทําหนาที่สงผานสินคาไปยังผูบริโภค แต
                  ดวยวิวัฒนาการของธุรกิจคาปลีกทําใหมีกลุมทุนที่มีศักยภาพเปนธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ ซึ่งเปนองคกรที่มี
                  ความสามารถรวมศูนยการสั่งซื้อ กระจายสินคา พรอมจําหนายดวยตัวเอง ทําใหธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ

                  มีอํานาจตอรองผูผลิตมากขึ้น เชน การเรียกเก็บคาแรกเขาเมื่อผูผลิตตองการขายสินคา การจัดเก็บคา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23