Page 111 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 111

102


                  ประกอบกับการละเลยเพิกเฉยของรัฐในการกําหนดมาตรการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของรานคาปลีก

                  ดั้งเดิมหรือรานคาปลีกสมัยใหมของคนไทยไวกอนลวงหนา เพราะอยางนอยที่สุดใหรานคาปลีกดั้งเดิมหรือ
                  รานคาปลีกสมัยใหมของคนชาติไดมีโอกาสเตรียมความพรอมและเสริมศักยภาพรองรับการแขงขันเสรี

                         การไมกระทําในฐานะที่ตนมีหนาที่ตองกระทําเพื่อปกปองพิทักษผลประโยชนของประชาชน และ
                  อยูในวิสัยที่สามารถคาดเห็นได (Foresee  ability) เนื่องจากมีตัวอยางเปนกรณีศึกษาจากหลายประเทศ

                  ยอมแสดงใหเห็นวา กระบวนทัศนของรัฐในการกําหนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติราชการ โดยไมไดคํานึงถึง
                  คุณภาพชีวิตของปจเจกชนและสังคมที่ไดรับผลกระทบจากธุรกิจคาปลีกขนาดใหญของกลุมทุนตางชาติ เชน
                  การตองปดกิจการของรานคาปลีกดั้งเดิม การวางงาน การถูกจํากัดโอกาสในการประกอบอาชีพคาปลีก
                  และการสรางความไมเปนธรรมใหแกสังคม ผูวิจัยพบวา ทิศทางดังกลาวสงเสริมใหเกิดการลวงละเมิดตอ
                  คุณคาความเปนมนุษย (Human  Dignity) และทําลายพื้นฐานความเปนธรรมในสังคม (Justice) ซึ่ง

                  ถือเปนหลักพื้นฐานในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ดังปรากฏตามเจตนารมณของปฏิญญาสากล ใน
                  อารัมภบทที่มีขอความวา:


                             Whereas recognition of the inherent dignity and of the equal and foundation
                  of freedom, justice and  peace in the world  … (The Universal Declaration of  Human
                  Rights, 1948)


                         5.2.2 เสรีภาพในการประกอบอาชีพ

                         ผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญทําใหรานคาปลีกดั้งเดิม หรือรานโชหวยตองเลิกกิจการ
                  เนื่องจากไมสามารถสูกับทุนขนาดใหญได ทั้งนี้ รวมถึงผลขางเคียง เชน เกษตรกรที่ปลูกพืชผักสงขายใหกับ
                  พอคาแมคาขาดรายได เนื่องมาจากรานขายของชําและรานโชหวยเลิกกิจการหรือขายไมได หรือ

                  สภาวการณการเปลี่ยนแปลงทางดานอาชีพขนาดใหญ และทําใหเกิดความไมมั่นคงในอาชีพการงานของ
                  พอคาแมคาและเกษตรกรที่ปลูกพืชผัก อันเนื่องมาจากภาวะขาดทุนและขายพืชผักไมไดจนตองลมเลิก
                  กิจการหรือปดตัวไป

                         ผูวิจัย พบวา ประเทศไทยปกครองดวยระบบประชาธิปไตยและมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรี โดย
                  หลักการรัฐยอมไมมีหนาที่ดําเนินการทางเศรษฐกิจเอง แตควรปลอยใหเปนไปหนาที่ของเอกชนและกลไก

                  ตลาด แตรัฐมีหนาที่สําคัญคือการกํากับดูแลใหการดําเนินการทางธุรกิจของเอกชนเปนไปโดยเสรีและเปนธรรม

                         เสรีภาพในการประกอบอาชีพเปนหลักสากลที่ไดรับการรับรองตามรัฐธรรมนูญในประเทศ
                  เศรษฐกิจเสรี รวมถึงประเทศไทยที่รับรองเสรีภาพในการประกอบอาชีพไวในมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญ
                  แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 วา

                         มาตรา 43 “บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรี

                  อยางเปนธรรม

                         การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
                  กฎหมาย เฉพาะเพื่อประโยชนในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุมครอง
                  ประชาชนในดานสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนการจัดการ
                  ระเบียบ การประกอบอาชีพ การคุมครองผูบริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ

                  สิ่งแวดลอม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพื่อปองกันการผูกขาดหรือขจัดความไมเปนธรรมในการแขงขัน”
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116