Page 107 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 107
98
5.1.3 มาตรการการชวยเหลือรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่นเปนเพียงการแกไขเฉพาะหนา
ภายหลังจากรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่นไดรับผลกระทบจากธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ ภาครัฐได
กําหนดมาตรการใหความชวยเหลือตางๆ และอาศัยมาตรการทางกฎหมาย ตามที่ไดกลาวถึงในบทที่ 3 ดังนี้
1) มาตรการชวยเหลือรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่น
ภายหลังจากการเขาสูตลาดของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ ทําใหรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่นประสบ
ปญหาและอุปสรรคทางการคา โดยมีการเรียกรองใหรัฐชวยเหลือรานคาปลีกดั้งเดิม และรัฐไดมีมาตรการ
การชวยเหลือ ดังนี้
(1) การฝกอบรมรานคาปลีกดั้งเดิม
ก. โครงการ “รวมพลังโชหวยสูวิกฤต” ของสํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดตางๆ เพื่อ
เสริมสรางความรูการบริหารจัดการรานคาปลีกและคาสงสมัยใหม
ข. การอบรมรานคาปลีก โดยกรมพัฒนาธุรกิจการคา สมาคมผูคาปลีกไทย และหอการคา
ไทย รวมจัดอบรมผูประกอบธุรกิจคาปลีกขนาดกลางและเล็ก เพื่อใหทราบแนวทางการปรับตัวใน
สถานการณปจจุบันที่มีการแขงขันมากขึ้นและพัฒนาประสิทธิภาพ
(2) การรวมกลุมรานคาปลีกดั้งเดิมเพื่อสรางอํานาจตอรอง
ก. การเชื่อมโยงเครือขายธุรกิจรานคาปลีก รานคาสง ผูผลิต และผูแทนจําหนาย โดย
สนับสนุนใหผูประกอบการคาปลีกรายยอยรวมกลุมกันดําเนินกิจกรรมทางการตลาดเชื่อมโยงเปนสมาชิก
รานคาสง และประสานผูผลิต ผูแทนจําหนาย เพื่อรวมกันสั่งซื้อและกระจายสิ้นคา ตลอดจนประสานงาน
การจัดกิจกรรมทางการตลาดอื่นๆ โดยเริ่มโครงการตั้งแตป 2545 ดําเนินงานในพื้นที่นํารอง 4 จังหวัด
ไดแก สุพรรณบุรี นครสวรรค ชัยภูมิ และรอยเอ็ด
ข. กระทรวงพาณิชยไดจัดตั้งบริษัท รวมคาปลีกเขมแข็ง จํากัด (Allied Retail Trade -
ART) (พ.ศ. 2545) มีทุนจดทะเบียน 395 ลานบาท โดยมีผูถือหุนไดแก ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอมแหงประเทศไทย (49%) สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดยอม (5.1%) เพื่อสงเสริมใหเกิด
ศูนยรวบรวมคําสั่งซื้อ ตอรองราคาและเงื่อนไขจากผูผลิต ประสานงานสถาบันการเงินจัดหาสินเชื่อ ติดตาม
ดูแล สรางระบบจัดสงและกระจายสินคาที่มีประสิทธิภาพใหแกผูประกอบการไทย
ดังนี้ จะเห็นวา มีการสรางองคความรูเรื่องการบริหารจัดการองคกร หรือการเชื่อมโยงเครือขาย
ธุรกิจคาปลีก รานคาสง ผูผลิต และผูแทนจําหนาย หรือมาตรการสนับสนุนดานการเงิน อาทิ การจัดตั้ง
บริษัทรวมคาปลีกเขมแข็ง (ART) หรือการสงเสริมวิสาหกิจขนาดยอม หรือ การสนับสนุนแหงเงินทุนจาก
สถาบันทางการเงินเฉพาะกิจ ฯลฯ เปนมาตรการแกไขปญหาเฉพาะหนา มิใชเปนมาตรการปองกันและหรือ
แกไขปญหาในระยะยาว
ผูวิจัย พบวา มาตรการที่เปนปจจัยพื้นฐานที่รัฐจําเปนตองเขามามีบทบาทในการเสริมสราง
ศักยภาพ เพื่อรองรับนโยบายเสรีการคาบริการ สาขาธุรกิจคาปลีก ในมิติในดานการปองกัน มิใชมิติในดาน
การแกไขปญหา เปรียบเทียบความแตกตางไดกับมาตรการของรัฐในการกํากับดูแลภาคธุรกิจสถาบัน
การเงินภาครัฐไดใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง โดยมีการวางแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 1 และ
ระยะที่ 2 เพื่อปรับโครงสรางธุรกิจสถาบันทางการเงิน เพื่อสรางเสถียรภาพใหแกกลุมธุรกิจสถาบันการเงิน