Page 106 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 106

97


                         5.1.2 ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและธุรกิจคาปลีกขนาดใหญของกลุมทุนตางชาติ


                         1) นโยบายที่พึ่งพึงทุนตางประเทศ

                         จากการที่ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลกตั้งแต ป พ.ศ. 2538 ซึ่งเปนชวงเวลา

                  เฟองฟูทางเศรษฐกิจ (ยุคฟองสบู)  ไดมีแนวทางในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจแบบเปดเสรี (นโยบายเสรีนิยม
                  ทางการคา) ซึ่งมีสาระสําคัญในการพึ่งพาการลงทุนและการคาระหวางประเทศ เนื่องจากนโยบายการพัฒนา
                  ประเทศทางเศรษฐกิจของไทยไดอิงกับการสงออกและอาศัยการลงทุนจากตางประเทศเปนปจจัยสําคัญ

                   กลาวคือประเทศไทยมีการอาศัยนโยบายการพึ่งพิงทุนภายนอกมาโดยตลอด นับตั้งแตระยะแรกของการพัฒนา
                  ประเทศ ไดแก การขอรับการสนับสนุน การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign  direct  investment:
                  FDI) และเมื่อประเทศไทยประสบปญหาวิกฤติการณทางเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 ยิ่งทําใหแนวทางการพึ่งพิง
                  ทุนตางชาติยิ่งมีมากขึ้นกวาเดิม (การกูยืมเงินจาก IMF รวมถึงการเอื้อประโยชนตอกลุมทุนตางชาติ)
                  เหตุเชนนี้ ทําใหนโยบายทางเศรษฐกิจจึงตองสัมพันธกับหลักสากลอยางเครงครัด ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับ

                  ประเทศในแถบเอเชียอยางประเทศเกาหลีใตแลว ประเทศดังกลาวสามารถกําหนดนโยบายที่มีลักษณะผอนคลาย
                  เปนตัวของตัวเองไดมากกวาประเทศไทย


                         2) นโยบายการเปดเสรีทางการคา

                         ประเทศไทยมีนโยบายเชิงรุกทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ และใหความสําคัญตอการเพิ่มปริมาณ
                  การคาใหมากขึ้นเพื่อสนับสนุนใหเศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโต สําหรับการเปดเสรีการคา สาขาธุรกิจ

                  คาปลีก มีเหตุผลวาจะชวยสนับสนุนตอเศรษฐกิจโดยรวม อีกทั้งผูบริโภคสามารถหาซื้อสินคาที่หลากหลาย
                  ในราคาที่ถูกลง แตกระนั้นในการเปดเสรีทางการคาตองพิจารณาวาในทางปฏิบัติมีการเปดใหตางชาติเขามา
                  ประกอบธุรกิจไดมากนอยเพียงใด เพื่อปองกันการผูกขาดหรือกระจุกตัวโดยผูประกอบการเพียงไมกี่ราย
                  เทานั้น นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงการสงเสริมใหมีการแขงขันภายในประเทศ มากกวามุงไปใชประโยชนจาก

                  การลงทุนของกลุมทุนตางชาติเทานั้น ดังนั้น การเปดเสรีการคาจึงมีหลักการขั้นพื้นฐานเรื่อง “หลักการเปด
                  เสรีแบบกาวหนาโดยลําดับ”อยางคอยเปนคอยไป

                         ตามที่ไดกลาวแลวในบทที่ 2 และมีขอสังเกตวา การเปดเสรีการคาตามความตกลงขององคการการคา
                  โลกนั้น ไมอยูบนหลักการและเหตุผลตามเจตนารมณของการเปดเสรีทางการคา ไดแก “การสงเสริม
                  การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อประโยชนของผูบริโภคและเพื่อเสริมศักยภาพของผูประกอบการใน

                  ประเทศ”  และไมตั้งอยูบนหลักการพื้นฐานเรื่อง “หลักการเปดเสรีแบบกาวหนาโดยลําดับ”  โดยเฉพาะ
                  อยางยิ่ง ธุรกิจคาปลีกเปนการคาบริการที่ไมตองอาศัยนวัตกรรมชั้นสูง และเปนการประกอบธุรกิจที่สราง
                  อาชีพใหทุกระดับ จึงไมจําเปนตองรีบเรงในการเปดเสรีแตอยางใด

                         นอกจากนี้ การเปดเสรีในสาขาธุรกิจดังกลาว โดยไมมีแผนรองรับ จึงปรากฏขอเท็จจริงวา ธุรกิจ

                  การคาปลีกของกลุมคนไทย ทั้งกลุมทุนทองถิ่น หรือรานคาปลีกดั้งเดิมตองไดรับผลกระทบจากการเขามาสู
                  ตลาดคาปลีกของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111