Page 110 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 110

101


                             2) ความรับผิดชอบของภาครัฐในการกําหนดมาตรการการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของ

                  รานคาปลีกดั้งเดิมหรือรานคาสมัยใหมของคนไทยไวกอนลวงหนากอนมีการเปดเสรีภาคธุรกิจคาปลีก
                  (แผนพัฒนารานคาปลีกดั้งเดิม)

                             3) หลักคิด/กระบวนทัศนของรัฐตองใหความสําคัญตอการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน

                             4) คุณภาพชีวิตของคนในสังคม เชน การมีงานทํา การมีอิสรภาพ เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
                  ฯลฯ ถือเปนคุณคาความเปนมนุษย (Human Dignity) และพื้นฐานความเปนธรรมในสังคม (Justice)

                         จากการศึกษาถึงความสัมพันธของธุรกิจการคาปลีกขนาดใหญที่มีตอประเทศไทย และผลกระทบของ

                  ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีตอรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่น ในบทที่ 3 (3.3) พบวา มีรานคาปลีกดั้งเดิมจํานวนมาก
                  ตองปดกิจการลง เพราะไมสามารถแขงขันกับรานคาปลีกขนาดใหญได ซึ่งมีการเปรียบเปรยวา “รานคาปลีก
                  ดั้งเดิม เปนนักมวยรุนไลทขึ้นเวทีชกกับนักมวยรุนเฮฟวี่เวท  ซึ่งหมายถึง ธุรกิจขนาดใหญ”  ยอมไมสามารถ
                  แขงขันกันได ฉันใดฉันนั้น ซึ่งตองตั้งประเด็นถามวา “ตามปกติแลวจะไมมีผูจัดการแขงขันคนใดปลอยใหมี
                  การแขงขันเชนนั้นเปนแนแท” หรือ “ยอมไมมีผูแขงขัน ไมมีทางสูได เขาตอสูเชนกัน”  เหมือนดังที่นักปรัชญา

                  สมัยกรีก Aristotle  กลาวไววา “การปฏิบัติตอคนที่เสมอภาคกันอยางเทาเทียมคือความเปนธรรม และ
                  การปฏิบัติตอคนไมเสมอภาคกันอยางเทาเทียมกัน คือ ความไมเปนธรรม เพราะในความเปนจริงมนุษยเราไม
                  เทาเทียมกัน และยิ่งที่ใดมีเสรีภาพมากที่นั่นยอมปราศจากความเสมอภาค”

                         ดังนั้น จากผลการวิเคราะห ผูวิจัยพบวา ธุรกิจการคาปลีกขนาดใหญเปนผูเลน (Player) ที่เลนตาม
                  กติกาที่รัฐกําหนดไว และหากไมปฏิบัติตามกฎกติกา เชน มีการเอาเปรียบผูบริโภค (ราคา คุณภาพ และ

                  ความปลอดภัย) หรือ มีพฤติกรรมตองหามตามพระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 เชน
                  มาตรา 25 (1) กําหนดหรือรักษาระดับสินคาซื้อหรือขายสินคาหรือคาบริการอยางไมเปนธรรม (2) กําหนด
                  เงื่อนไขในลักษณะที่เปนการบังคับโดยทางตรงหรือโดยทางออมอยางไมเปนธรรม ใหผูประกอบธุรกิจอื่นซึ่ง

                  เปนลูกคาของตนตองจํากัดการบริการ การผลิต การซื้อหรือการจําหนายสินคา หรือตองจํากัดโอกาสใน
                  การเลือกซื้อหรือขายสินคา การไดรับหรือการใหบริการ หรือในการจัดหาสินเชื่อจากผูประกอบธุรกิจอื่น
                  (3) ระงับ ลด หรือจํากัดการบริการ การผลิต การซื้อ การจําหนาย การสงมอบการนําเขามาใน
                  ราชอาณาจักรโดยไมมีเหตุผลอันสมควร ทําลายหรือทําใหเสียหายซึ่งสินคาเพื่อลดปริมาณใหต่ํากวาความ

                  ตองการของตลาด (4) แทรกแซงการประกอบธุรกิจของผูอื่นโดยไมมีเหตุผลอันสมควร หรือตามมาตรา 26
                  การรวมธุรกิจ อันอาจกอใหเกิดการผูกขาดหรือความไมเปนธรรมในการแขงขัน หรือการตกลงฮั้วราคากัน
                  ตามมาตรา 27 ซึ่งเปนกระทําอันเปนการผูกขาด หรือลดการแขงขัน หรือจํากัดการแขงขันในตลาดสินคาใด
                  สินคาหนึ่งหรือบริการใดบริการหนึ่ง ผูประกอบธุรกิจเหลานนั้นตองรับผิดทางกฎหมาย

                         ในสวนความรับผิดชอบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีตอผูประกอบการรานคาปลีกดั้งเดิม ซึ่งถือ

                  เปนผูเลนคนหนึ่งที่ไดรับผลกระทบตองปดกิจการจนกลายเปนเหยื่อดวยแลวนั้น ยอมถือเปนโอกาสทาง
                  ธุรกิจการคา โดยเฉพาะอยางยิ่งเสรีภาพในการประกอบธุรกิจที่ปราศจากกติกาที่เปนธรรม ดังนั้น จึงถือเปน
                  ความรับผิดชอบของรัฐในฐานะเปนผูกําหนดกติกา ซึ่งมีหนาที่กํากับดูแลและควบคุมผูเลน และยอมมีหนาที่

                  สําคัญในการวางกรอบกติกาเพื่อใหเกิดความเสมอภาคอยางเปนธรรม
                         จากการศึกษาในบทที่ 2 และ 3 พบวา การที่ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญตางชาติเขามาลงทุนใน

                  ประเทศไทย และมีการขยายสาขาในหลายรูปแบบนั้น มีเหตุปจจัยมาจากนโยบายเศรษฐกิจเสรี ซึ่งถือไดวา
                  เปนกระบวนทัศนหลักของรัฐในการพัฒนาประเทศ และนอกจากนี้ขอเท็จจริงยังปรากฏวา รัฐไดเอื้อ
                  ประโยชนตอนักลงทุนตางชาติในธุรกิจคาปลีก โดยมีการสงเสริมการลงทุนตามที่ไดอธิบายไวในบทที่ 2
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115