Page 115 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 115

106


                         เอกสารวิจัยฉบับนี้ชี้ใหเห็นวา กระบวนทัศนในการพัฒนาประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับหลักการ
                  สากลอยางแนบแนน เนื่องจากประเทศไทยไดอาศัยนโยบายการพึ่งพิงทุนภายนอกมาโดยตลอด เริ่มตนตั้งแต
                  การขอรับการสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ  (Foreign Direct  Investment:  FDI)  การขอรับการ
                  สนับสนุนงบประมาณและการลงทุนจากรัฐบาลของชาติที่ใหความอนุเคราะห รวมถึงการขอรับการสนับสนุนจาก

                  องคกรระหวางประเทศ อาทิ ธนาคารโลก (World Bank)  กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International
                  Monetary Fund : IMF) หรือธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (Asia Development Bank : ADB) และได
                  ดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจโดยมุงเนนการสงออกสินคาเปนสําคัญ

                         นอกจากนี้ เพื่อยืนยันถึงความศรัทธาในหลักสากลทางเศรษฐกิจการคาระหวางประเทศ ประเทศไทย

                  ไดเขาเปนสมาชิกประเภทสมาชิกกอตั้งขององคการการคาโลก (World Trade Organization)  ซึ่งมีผล
                  ผูกพันใหประเทศสมาชิกสรางขอบขายความรวมมือทางการคาระหวางประเทศ และยึดนโยบายเสรีนิยม
                  ทางการคา (Liberalize  International  Trade)  เพื่อเพิ่มชองในการเขาถึงตลาดทางการคา และความรวมมือ
                  เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและการลงทุน และมีพันธะกรณีในการพัฒนาการเปดเสรีการคา สาขาธุรกิจคาปลีก

                  ซึ่งแมวาเจตนารมณของการเปดเสรีการคาบริการจะมีหลักพื้นฐาน 3  ประการ ไดแก (1)  หลักการปฏิบัติ
                  เยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง (2)  หลักความโปรงใส และ (3)  หลักการเปดเสรีแบบกาวหนาโดยลําดับ
                  หรือแบบคอยเปนคอยไป แตนักวิเคราะหมองวานโยบายเศรษฐกิจเสรีของประเทศไทยคลอยไปทางการเจรจา
                  เปดเสรีแบบกาวกระโดดมากกวาวิธีการเจรจาแบบกาวหนา (Progressive) ตามหลักการขอ (3) ขางตน

                         ดังนั้น การที่กระบวนทัศนการพัฒนาประเทศวางน้ําหนักไปที่มิติดานเศรษฐกิจ ยังผลใหนโยบาย

                  การพัฒนาประเทศและการบริหารราชการแผนดินของประเทศไทย สะทอนภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
                  เปนหลัก สวนกระบวนทัศนมิติทางสังคมและมิติทางสิ่งแวดลอมเปนเพียงวาทกรรม หรืออยางดีก็เปนได
                  เพียงนโยบายลําดับรอง เพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาประเทศทาง“วัตถุ”แตมิไดพัฒนา“คน”

                         อยางไรก็ดี การวางกลยุทธในการพัฒนาประเทศ ในลักษณะดังกลาว มีขึ้นนานมาแลว เมื่อประเทศไทย

                  ประสบปญหาทางเศรษฐกิจขั้นรุนแรงในป พ.ศ. 2540 ภาคสวนตางๆ อันประกอบดวยภาคตางประเทศ ภาคธุรกิจ
                  ภาคสถาบันการเงิน รวมถึงภาคครัวเรือน ตางประสบปญหาการขาดสภาพคลอง ซึ่งสงผลตอเสถียรภาพของ
                  ระบบเศรษฐกิจโดยรวม ทําใหประเทศไทยตองพึ่งพิงทุนตางชาติเรื่อยมา ตัวอยางที่ชัดเจน ไดแก การขอกูยืมเงิน
                  จาก IMF ของภาครัฐ และการสรางมาตรการเอื้อประโยชนเพื่อใหกลุมทุนตางชาตินําเงินเขามาลงทุนในประเทศ
                  การตรากฎหมายเศรษฐกิจ 11 ฉบับ กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนตางดาว ในป พ.ศ. 2542 เปนตน ประวัติศาสตร

                  ชี้ชัดวา ผลพวงของนโยบายและมาตรการสงเสริมของรัฐที่ผานมา ประกอบกับความไดเปรียบทางเศรษฐกิจ




                  เพราะเปนการควบคุมผูประกอบการในประเทศมากเกินไป จึงตองการใหภาครัฐทบทวนรางดังกลาวใหมีความ
                  ทันสมัยมากขึ้น รวมทั้งการนิยามธุรกิจคาปลีกสมัยใหมที่ปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสูการขายสินคาผานออนไลน
                  (อี-คอมเมิรซ) ซึ่งตองนําเรื่องนี้เขาไปกํากับดูแลดวย ที่สําคัญจะตองครอบคลุมทั้งระบบตั้งแตผูผลิต พอคา

                  คนกลางทุกระดับ ผูประกอบการคาปลีกรายยอยดั้งเดิม และสมัยใหมทั้งหมด "พ.ร.บ.คาปลีกฯ ไมควรมีเลย
                  เพราะรางพ.ร.บ.ดังกลาวเปนการจํากัดผูประกอบการคาปลีกสมัยใหมของไทยเองไมใหเติบโตเพียงอยางเดียว
                  โดยไมมีมาตรการที่ชัดเจนในการชวยเหลือเพิ่มการแขงขันใหรานคาปลีกรายยอยดั้งเดิม ประกอบกับปจจุบัน
                  ชองทางคาปลีกมีรูปแบบใหมๆ เกิดขึ้นมาก ทั้งไดเร็กตเซลส ออนไลน จึงตองตีความ ราง พ.ร.บ.นี้ ใหม

                  [ออนไลน], 9 ตุลาคม 2556, แหลงที่มาhttp://www.thanonline.com/ index.php? option=com_Content
                  & view=article&id =124910:2012-06-01-06-51-41&catid=106:-arketing&Itemid=456.
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120