Page 102 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 102

93


                  รับผิดชอบจากคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ เปนคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

                  แหงชาติ

                         3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (2515 - 2519) ไดเนนการพัฒนาคน พัฒนา
                  สังคม ควบคูกันไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ กระจายความเจริญสูชนบท นํานโยบายประชากรมาใชเปน
                  ครั้งแรก คือ นโยบายลดอัตราการเพิ่มประชากร

                         4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (2520 - 2524) มุงเนนการสงเสริมความ
                  เปนธรรมทางสังคม การกระจายรายได มุงขยายผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมสงออก ยกระดับ

                  คุณภาพชีวิตของประชากรใหดีขึ้น

                         5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (2525 - 2529) มุงเนนการลดคาใชจายของ
                  ประเทศ โดยลดโครงการกอสรางขนาดใหญ เรงการสงออกเพื่อรักษาดุลการคา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                  ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติสภาพแวดลอม

                         6) แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 6 (2529 - 2534) มุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจควบคูไปกับ

                  การพัฒนาสังคม เสริมสรางความเปนธรรม พัฒนาคุณภาพชีวิตใหทั่วถึง นอกจากนี้ ยังไดเนนการขยายตัว
                  ของเศรษฐกิจ

                         7) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 (2535-2539) มุงเนนการรักษาอัตราการ
                  เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง การกระจายรายไดและพัฒนาสูภูมิภาค มีการกําหนดกลุมเปาหมายใน
                  การพัฒนาและดุแลเปนพิเศษ 6 กลุม คือ กลุมเกษตรกรยากจน กลุมแรงงานรับจางภาคเกษตร กลุมผูประกอบ

                  อาชีพสวนตัว กลุมลูกจางแรงงานที่มีรายไดนอย กลุมขาราชการและพนักงานของรัฐ

                         8) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (2540 - 2544) มุงเนนการพัฒนาศักยภาพ
                  ของประชากรเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อปรับตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจโดยปรับแผนบริหารจัดการที่ทําให
                  องคกรเอกชน ชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาประเทศใหมากขึ้น

                         9) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (2545 - 2549) ไดนําหลักปรัชญาของ
                  เศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาใชในการพัฒนาประเทศ และ

                  ไดมีการกําหนดยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาที่จะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพและยั่งยืน
                  ดวยการเสริมสรางรากฐานทางเศรษฐกิจและสังคมใหเขมแข็ง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญ
                  ของประเทศใหอยูดีมีสุข รูจักความพอประมาณอยางมีเหตุผล และระบบคุมกันที่ดีควบคูไปกับการพัฒนาที่
                  มุงสูคุณภาพในทุกดาน และการจัดใหมีระบบบริหารจัดการที่ดีในทุกระดับ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ

                  แขงขันของประเทศ

                         10) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (2550 - 2554) มุงเนนในการพัฒนา
                  คุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูสภาวะมนุษยที่สมบูรณ ไดแก การพัฒนาคน
                  ใหมีคุณธรรมนําความรู การเสริมสรางสุขภาวะ การเสริมสรางการอยูรวมกันอยางสันติสุข ตระหนักถึง

                  คุณคาและเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย และเสริมสรางจิตสํานึกดานสิทธิและหนาที่ของพลเมือง
                  การเสริมสรางศักยภาพของชุมชน การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม การสราง
                  วัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ ตลอดจนการปฏิรูปกฎหมายเพื่อ
                  สรางความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107