Page 103 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 103

94


                         11) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (2555 - 2559) แผนฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวน

                  ในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนา
                  ประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิดภูมคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการ
                  พัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน มุงเนนการปรับสมดุลของประเทศวา “ประเทศมีความมั่นคงเปน
                  ธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”  มีการกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในมิติ

                  การพัฒนาดานตางๆ ไดแก (1) การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ เชน การสรางความเปนธรรม
                  ในสังคมการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (2) การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสู ทิศทางการ
                  เติบโตในรูปแบบใหมที่มุงพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก เชน

                  การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการ
                  เติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิด
                  สรางสรรค และภูมิปญญา หรือการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
                  และสังคมใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับการรวมมือระหวางประเทศ
                  ในภูมิภาคตางๆ และ (3) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน


                         5.1.1 การพัฒนาประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


                         เมื่อไดศึกษาถึงความสัมพันธระหวางแผนพัฒนาประเทศ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ)
                  กับนโยบายของรัฐ ประกอบกับแนวโนมนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามรัฐธรรมนูญ ผูวิจัยพบวา มีความสัมพันธ
                  ระหวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คําแถลงนโยบายการบริหารราชการแผนดิน และแนวโนม
                  นโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

                         โดยทั้งสามปจจัยนั้นจะมีความสอดคลองกัน กลาวคือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

                  เปรียบเสมือนแผนที่ (Roadmap) ในการกําหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ มีแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
                  เปรียบเสมือนเครื่องกํากับรัฐบาลใหตองดําเนินการตามแผนที่ และคําแถลงนโยบายของรัฐบาล
                  เปรียบเสมือนแนวปฏิบัติราชการแผนดิน

                         แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 - 4 (พ.ศ. 2504 - 2524) ไดกําหนดยุทธศาสตรชาติ
                  เพื่อปรับโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

                         แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 - 6 (พ.ศ. 2525 - 2534) ไดกําหนดยุทธศาสตรชาติ

                  เพื่อการพัฒนาประเทศที่สมดุลอยางยั่งยืน

                         จากการศึกษาถึงแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามรัฐธรรมนูญฉบับตางๆ นับแตป พ.ศ. 2500 เปนตนมา
                  พบวา ไดบัญญัติรับรองในเรื่องตางๆ ในเนื้อความทํานองเดียวกันดังตอไปนี้

                             1) ทางเศรษฐกิจ

                                - รัฐสนับสนุนใหเอกชนไดมีการริเริ่มในทางเศรษฐกิจ (พ.ศ. 2511, 2517, 2521)
                                - รัฐสนับสนุนใหเอกชนมีบทบาทในทางเศรษฐกิจ โดยที่รัฐไมพึงประกอบกิจการแขงขัน
                  กับเอกชน (พ.ศ. 2534, 2538)

                                - รัฐสงเสริมสิทธิของบุคคลในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขัน
                  โดยเสรีอยางเปนธรรมยอมไดรับการคุมครอง (พ.ศ. 2538, 2540, 2550)
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108