Page 101 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 101

92


                                                          บทที่ 5


                      บทวิเคราะหถึงผลกระทบธุรกิจการคาปลีกขนาดใหญกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน



                         จากการวิจัยขอเท็จจริงที่ผานมาในบทที่ 3 - 4 มีขอสังเกตสองประการ กลาวคือ ประการแรก คือ
                  การไมมีกติกาที่เปนธรรม ทําใหเกิดความยากจน และความไมเทาเทียมกัน และเปนการละเมิดตอเสรีภาพ

                  ในการประกอบอาชีพ เพราะการเปดการคาเสรีซึ่งเปนผลทําใหมีการแขงขันสูงและเปนเหตุใหเกิด
                  สภาวการณแขงขันในการลดราคาสินคาทําใหเกิดผลกระทบกับธุรกิจขนาดเล็ก (รานคาปลีกดั้งเดิม) ซึ่งไม
                  สามารถตานทานธุรกิจขนาดใหญซึ่งมีเงินทุนมากไวได ทําใหธุรกิจขนาดเล็กตองปดกิจการ ซึ่งเปนการ
                  กระทบกระเทือนตอหลักการพื้นฐานที่พึงปฏิบัติตอมนุษยเรื่องความเปนธรรม และเปนการลิดรอนจํากัดตอ

                  เสรีภาพในการประกอบอาชีพของบุคคล และประการที่สอง คือ ปรากฏการณทําลายคุณคาวิถีชุมชน โดยที่
                  การขยายตัวของธุรกิจคาปลีกภายใตกติกาที่ไมเปนธรรม ทําใหรานคาปลีกยอยซึ่งเปนเศรษฐกิจพื้นฐานของ
                  ชุมชนไมสามารถใหอยูรอดได ขาดมิติความหลากหลายของการประกอบอาชีพในชุมชน จึงทําใหเกิดการ
                  ละเมิดสิทธิมนุษยชนในแงมุมตางๆ

                         ในบทตอไปนี้ เปนการวิเคราะหถึงผลกระทบธุรกิจการคาปลีกขนาดใหญกับการคุมครอง

                  สิทธิมนุษยชน ซึ่งผูวิจัยพบวา แนวทางการพัฒนาประเทศเพื่อใหประเทศมีความเจริญนั้นยังขาดความสมดุล
                  ระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทําใหมีปญหาตางๆ เกิดขึ้น
                  ตามมา ซึ่งปญหาสวนใหญเปนผลพวงมาจากการพัฒนาที่ไมยั่งยืนและไมสมดุล ตัวอยางเชน การผูกขาดทาง
                  ธุรกิจ ความสัมพันธระหวางนโยบายของรัฐกับการปกปองผลประโยชนของกลุมทุนในระบบอุปถัมภ เปนตน

                  และอาจตั้งขอสังเกตไดวา การพัฒนาประเทศของไทยจะใหน้ําหนักความสําคัญที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดย
                  มิติทางสังคมและสิ่งแวดลอมเปนเพียงวาทกรรม (Lip services) และกรอบความคิดทางสังคมและสิ่งแวดลอม
                  มีไวสําหรับการแกไขปญหามิไดสรางขึ้นในเชิงปองกัน หรือวางระบบโครงสรางพื้นฐานทางสังคมใหเขมแข็ง

                  ดังจะเห็นไดจากปรากฏการณเปดเสรีในกลุมธุรกิจคาปลีก

                  5.1   ปญหาการขาดความสมดุลของการพัฒนาประเทศ

                         ในการพัฒนาประเทศเพื่อใหเปนประเทศที่อุดมสมบูรณนั้น ตองใหความตระหนักถึงความเขมแข็ง

                  ของสิทธิมนุษยชน (Human Rights) ภาคประชาสังคม (Civil Society) และสิ่งแวดลอม (Environmental)
                  ซึ่งจากการศึกษาในบทที่ 2 พบวา ประเทศไทยไดมีการจัดทําและใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                  อยางเปนระบบครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2504 มีสาระสําคัญคือ

                         1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 (2504 - 2509) มุงเนนการพัฒนาโครงการ

                  สรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เชน การพัฒนาสาธารณูปโภค น้ําประปา โทรศัพท การชลประทาน การพัฒนา
                  ขยายเขตการศึกษาระดับอุดมศึกษาสูภูมิภาค เปนตน

                         2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 2 (2510 - 2514) มุงเนนการปรับปรุงพัฒนา
                  โครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ตอเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 และสนับสนุนให
                  เอกชนมีบทบาทในการพัฒนาประเทศ นําทรัพยากรและทุนมาใชใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่ มีหนวยงานที่
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106