Page 97 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 97

88


                        ผูที่ตอบวาไมเห็นดวย ใหเหตุผลวา พฤติกรรมของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญดังกลาวจะสงผล
                  กระทบตอรานคาปลีกดั้งเดิม (รานคาเล็ก) สูงถึงรอยละ 76 และมีเหตุผลอื่นประกอบ เรียงตามลําดับ ดังนี้
                  (1) สงผลกระทบตอวิถีชีวิตชุมชน (2) พฤติกรรมที่ถือเปนการผูกขาดทางการคา (3) ทําใหเงินไหลออกนอก

                  ประเทศ (4) สงเสริมวัฒนธรรมบริโภคนิยม และ (5) ทําใหคนตกงานเนื่องจากรานคาปลีกดั้งเดิมปดกิจการ
                        3)  เรื่องธุรกิจคาปลีกขนาดใหญมีศักยภาพในการตั้งราคาสินคาไดถูก หรือต่ํากวาทุนเพื่อสราง

                  แรงจูงใจใหประชาชน และเปนขอไดเปรียบทางธุรกิจคาปลีกที่มีศักยภาพดานทุน ซึ่งจากการศึกษาพบวา
                  ประชาชนรอยละ 52 เห็นดวย แตเปนที่นาสนใจวา มีประชาชนถึง รอยละ 34 ที่ไมเห็นดวยกับการใชศักยภาพ
                  ดังกลาว เนื่องจากทําใหรานคาปลีกขนาดเล็กไมสามารถแขงขันได สวนประชาชนที่ยังไมแนใจหรือเห็นเปน

                  อยางอื่นนั้นมีรวมกันรอยละ 15 ซึ่งคิดวา หากมีการใหขอมูลและเหตุผลของฝายที่ไมเห็นดวยเพิ่มเติม จะทําใหมี
                  อัตราสูงประมาณรอยละ 49

                        4)  แนวนโยบายดานเศรษฐกิจตามบทบัญญัติมาตรา 84  (1)  “...สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรี
                  และเปนธรรม โดยอาศัยกลไกตลาด...” ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งเปนหลักการทาง
                  เศรษฐกิจของประเทศ มีประชาชนตอบวา “ไมทราบ” รอยละ 44 และประชาชนที่ตอบวา “ทราบ” รอยละ 40

                  แตที่ตอบวา “ทราบ” มีจํานวนรอยละ 35 ที่ยังไมเขาใจรายละเอียดของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและเปนธรรม
                  โดยอาศัยกลไกตลาด

                                นอกจากนี้พบวา ประชาชนที่ตอบวาทราบและเขาใจรายละเอียดของระบบเศรษฐกิจแบบ
                  เสรีไดตอบคําถามเชิงลึกแกผูวิจัยวา

                                (1)  ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีคือระบบเศรษฐกิจที่เอกชนสามารถประกอบธุรกิจตางๆ ได
                  อยางเสรี โดยปราศจากการแทรกแซงอยางใด ๆ จากรัฐ

                                (2)  ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีคือระบบเศรษฐกิจที่เปดโอกาสใหนักลงทุนตางชาติเขามา

                  ลงทุนและประกอบธุรกิจไดมากขึ้น

                                (3) ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีคือระบบเศรษฐกิจที่ตองดําเนินการภายใตกรอบของกฎหมาย
                  และรัฐสามารถเขาไปมีบทบาทในการประกอบธุรกิจบางประเภท

                                เหตุผลตาม (1) และ (2) มีอยูรอยละ 89 สวนเหตุผลตาม (3) มีผูใหรายละเอียดทํานอง
                  เดียวกันนี้เพียงรอยละ 11 เทานั้น

                                หลักจากนั้น ผูวิจัยไดใหขอมูลแกผูตอบคําถามวา ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีตองมี
                  ความสัมพันธกับการสรางความเปนธรรมหรือการแขงขันทางการคาที่เปนธรรม มีประชาชนรอยละ 24

                  ตอบวา “ทราบ” แตที่เหลือรอยละ 76 ตอบวา “ไมทราบ” และ “ไมแนใจ”

                                สําหรับผูที่ตอบวา ทราบและเขาใจวาระบบเศรษฐกิจแบบเสรีตองสัมพันธกับเรื่องความ
                  เปนธรรม ไดอธิบายความเขาใจตอคําวาระบบเศรษฐกิจที่เปนธรรมวา

                                (1) ระบบเศรษฐกิจที่เปนธรรมคือการคํานึงถึงประโยชนของผูบริโภคและสวนรวม

                                (2) ระบบเศรษฐกิจที่เปนธรรมคือการคาขายที่ประกอบดวยความซื่อสัตยสุจริต

                                (3) ระบบเศรษฐกิจที่เปนธรรมคือการคาขายที่ไมเอาเปรียบผูประกอบธุรกิจอื่น

                                (4) อื่น ๆ เชน มีการกระจายรายไดอยางทั่วถึง มีการชวยเหลือผูที่ประสบปญหา ฯลฯ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102