Page 80 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 80

68


                                ภาษาในเอกสารที่จัดท าอาจสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจยาก เช่น การปลอดจากการทรมาน

                                 หรือการจับกุมตามอ าเภอใจ ประเด็นนี้น่าจะปรับให้เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเข้าใจ
                                ควรชี้ให้เห็นว่าตัวชี้วัดเป็นการก าหนดข้อมูล หรือหลักฐานเพื่อใช้ในการประเมินการ
                                 ปฏิบัติตามพันธกรณี หรือเป็นการรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องที่น าไปสู่ข้อสรุป ตัวชี้วัด

                                 ไม่ได้ก าหนดเปูาหมายสิทธิด้านต่างๆ ของรัฐ เว้นแต่พันธะหน้าที่ตามข้อบทจะก าหนดไว้
                                 จึงจ าเป็นต้องได้ข้อมูลที่บ่งถึงสถานะหรือแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นจึงเป็นคนละ
                                 ประเด็นกับการที่จะชี้ว่าใครเป็นคนท าละเมิด เช่น การปลอดจากการถูกบังคับให้บุคคล
                                 สูญหายโดยก าลัง แม้ว่าโดยหลักการการที่มีบุคคลถูกบังคับให้สูญหายเพียงคนเดียวถือว่า

                                 มีการละเมิดสิทธิแต่จ าเป็นต้องก าหนดจ านวนผู้ที่ถูกบังคับสูญหายเป็นตัวชี้วัด และต้อง
                                 เก็บข้อมูลเพื่อการประเมิน เพราะสิ่งนั้นอาจเกิดขึ้นได้ และเกิดขึ้นจริงในสังคม
                                ตัวชี้วัดผลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท างาน มีข้อมูลในการจัดเก็บหรือข้อมูลอัตรา

                                 การประสบอันตรายจากการท างานของลูกจ้างอยู่แล้ว และเป็นข้อมูลที่หน่วยงานที่
                                 ปฏิบัติก็มีอยู่แล้วสามารถน ามาใช้ได้

                                ควรมีการริเริ่มให้มีการน าข้อมูลด้านสิทธิมนุษยชนมารวมกัน (ก าหนดข้อมูลกลางด้าน
                                 สิทธิมนุษยชน) ขึ้น มีกระบวนการจัดเก็บ (เช่น ส านักงานสถิติแห่งชาติ) กระบวนการ
                                 ตรวจสอบน่ามีการออกแบบให้ส านักงานสถิติแห่งชาติจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ
                                 มนุษยชนด้วย

                                ควรให้เวลาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไปพิจารณาเรื่องตัวชี้วัดผลเพราะตัวชี้วัดจะสะท้อน
                                 การปฏิบัติงานตามพันธกรณี

                                ตัวชี้วัดเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรม หรือความเท่าเทียมทางกฎหมายควร
                                 ครอบคลุมในคดีแพ่งด้วย
                                การปลอดจากสภาพการเป็นทาสอาจใช้ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ได้

                                ตัวชี้วัดโครงสร้างนอกจากการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศและ
                                 รัฐธรรมนูญแล้วควรมีกฎหมายภายในด้วย เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

                                ตัวชี้วัดที่ระบุให้ปฏิบัติให้สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศ ควรระบุให้ชัดว่าเป็น
                                 มาตรฐานเรื่องอะไร  และถ้ากฎหมายของไทยยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานเหล่านั้น ควร
                                 จะท าอย่างไร

                                ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ควรจะจ าแนกปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบ
                                 ที่ต่างกัน คือ ในชั้นพนักงานสอบสวน อัยการ ศาล และราชทัณฑ์ และควรค านึงถึงสิทธิ
                                 ของผู้เสียหายด้วย

                                ตัวชี้วัดเกี่ยวกับสิทธิทางเศรษฐกิจของผู้หญิงมักจะเป็นเรื่องการเข้าถึงบริการของรัฐ ที่มี
                                 ข้อก าหนดต่างกับบุรุษ เช่น การเข้าถึงแหล่งทุน หรือเงินกู้ นอกจากนั้นกฎหมายที่กีดกัน
                                 สตรี ยังมีอยู่โดยเฉพาะการท านิติกรรมของผู้หญิง

                                ตัวชี้วัดกลุ่มที่หก สิทธิของคนพิการ ตัวชี้วัดโครงสร้างคือเป็นภาคี CRPD  แผนพัฒนา
                                 คุณภาพชีวิตของคนพิการ ซึ่งปัจจุบันเป็นแผนฉบับที่ 4 นอกจากนั้นควรมีการรับรอง
                                 สิทธิไว้ในกฎหมาย เช่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคนพิการ มาตรการเกี่ยวกับ
                                 คนจ้างงาน  ตอนนี้เรามีกฎหมายใหม่มาตรา 35 การจ้างงานที่ทางภาครัฐและเอกชน
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85