Page 77 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 77

65


                                นักวิชาการ จ านวน 4 คน

                                กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และเจ้าหน้าที่ส านักงาน กสม. จ านวน 8 คน

                              การสัมมนาครั้งนี้มีขึ้นเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องและรับฟังข้อมูล

               อันเป็นประโยชน์ในการพัฒนาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน โดยคณะผู้ศึกษาเห็นว่าเมื่อมีการใช้ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน
               เป็นกรอบในการประเมิน ติดตามการด าเนินงานของรัฐแล้ว หน่วยงานของรัฐจะต้องเป็นผู้ได้รับผลโดยตรงจาก
               การใช้ตัวชี้วัด ดังนั้นการสัมมนาครั้งนี้จึงเป็นการรับฟังความเห็นของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้มีการพัฒนาร่วมกัน
               ของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามกระบวนการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาตัวชี้วัด


                            หลังจากประธานในพิธีกล่าวเปิดการสัมมนาแล้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย ศรีรัตน์ หัวหน้าคณะ
               ผู้ศึกษาการจัดท าตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนได้บรรยายน าเรื่องเปูาหมาย ลักษณะ และประโยชน์ของตัวชี้วัดสิทธิ
               มนุษยชน ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนามีใจความสรุปดังนี้

                               ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน หมายถึง ข้อมูลจ าเพาะเจาะจงที่ได้ก าหนดขึ้น เพื่อแสดงสภาวะ
                                 หรือสถานะของเปูาหมาย เหตุการณ์ กิจกรรม หรือผลลัพธ์ซึ่งสัมพันธ์กับปทัสถานหรือ
                                 มาตรฐานด้านสิทธิมนุษยชน ข้อมูลนั้นได้บ่งถึง หรือได้สะท้อนหลักการของสิทธิมนุษยชน

                                 และปัญหาของการสิทธิมนุษยชน ข้อมูลเหล่านั้นใช้เพื่อประเมิน ติดตามตรวจสอบ การ
                                 น าหลักการและปทัสถานสิทธิมนุษยชนมาปรับใช้ในประเทศ หรือโดยองค์กรใดองค์กรหนึ่ง
                                ประโยชน์ของ “ตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน”  เป็นเครื่องมือสอดส่องการด าเนินงานของ

                                 หน่วยงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับพันธะหน้าที่ในการส่งเสริม ปกปูองคุ้มครองและท าให้
                                 สิทธิมนุษยชนเป็นจริงขึ้นเป็นเครื่องชี้ทางในการก าหนดนโยบาย แผน และการปฏิบัติ
                                 ของหน่วยงานต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักการ และปทัสถานสิทธิมนุษยชน ช่วยให้มี

                                 กรอบในการจัดท ารายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                                 ระหว่างประเทศชัดเจนยิ่งขึ้น
                                ตัวอย่างการก าหนดตัวชี้วัด “สิทธิในชีวิต”ประเด็นที่พิจารณา คือ สิทธินี้มีขอบเขตแค่ไหน
                                 พันธะหน้าที่ของรัฐมีอย่างไร มิติต่างๆ ที่เกี่ยวกับ “สิทธิในชีวิต หรือองค์ประกอบที่เป็น

                                 สาระแห่งสิทธิ เช่น “ไม่ถูกพรากชีวิตโดยรัฐ” “ไม่ถูกบุคคลอื่นฆ่าตาย” “ไม่ถูกท าให้หายตัว
                                 โดยการใช้ก าลังบังคับ” “มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อการมีชีวิต”

                                ประเภทของข้อมูลที่ใช้ประกอบตัวชี้วัด ข้อมูลที่เป็นตัวเลข สถิติ หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ
                                 (หรือข้อมูลเชิงพรรณนา) ที่ใช้เพื่อตอบค าถาม หรือการประเมิน เช่น สิทธิในชีวิตที่
                                 เกี่ยวกับการไม่ถูกพรากชีวิตโดยรัฐ ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน คือ จ านวนบุคคลที่เสียชีวิต
                                 ในขณะบังคับใช้กฎหมาย จ านวนบุคคลที่ตายในขณะอยู่ในเรือนจ า หรือในห้องขัง ซึ่ง

                                 เป็นการชี้ถึงการ“พรากชีวิตโดยรัฐ”  ส่วนมิติเกี่ยวกับ “การไม่ถูกพรากชีวิตโดยบุคคลที่
                                 สาม” ข้อมูลที่บ่งถึงอาจเป็นข้อมูลที่แสดงจ านวนบุคคลที่ตายจากการกระท าความผิดที่
                                 เป็นคดีอาญา สัดส่วนคดีที่เกิดขึ้นกับการด าเนินคดีผู้กระท าผิด และมิติที่เกี่ยวกับ
                                 “สภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อการมีชีวิต” เช่น  จ านวนเด็กทารกตายระหว่างแรกเกิด

                                 ถึงอายุหนึ่งเดือน จ านวนบุคคลที่ตายจากสภาพแวดล้อมมลพิษ สารเคมีรั่ว  จ านวน
                                 บุคคลที่ตายจากอุบัติรถชนตาย หรือประชากรมีอายุขัยเฉลี่ยกี่ปี เป็นต้น
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82