Page 74 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 74

62


               ผู้ต้องขังและการขังเดี่ยวโดยไม่ให้ติดต่อกับบุคคลอื่นนั้นควรจะต้อง “ระงับใช้ทันที” ค าแนะน าดังกล่าวตั้งอยู่
                                                                206
               บนพื้นฐานของมาตรฐานขั้นต่ าว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง

                                     ข้อสรุป
                                     จากตัวอย่างค าแนะน าของรัฐบาลต่างๆ ที่ให้ประเทศไทยรับไปพิจารณาเพื่อปรับปรุง
               หรือยกระดับการด าเนินการเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามกระบวนการ UPR  หรือที่คณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนประจ ากติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง  ได้ตั้งประเด็นค าถาม
               และให้ค าเสนอแนะ หรือแสดงความวิตกกังวลตามที่กล่าวมานั้น เป็นการสะท้อนปัญหาสิทธิมนุษยชนส าคัญ
               ของประเทศไทยจึงจ าเป็นที่จะต้องก าหนดตัวชี้วัดเพื่อให้สะท้อนถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น หรือยัง
               มีอยู่นี้


               3.3 การมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (Participation of the Stakeholders)

                                                                                                       207
                     องค์ประกอบส าคัญประการหนึ่งในการพัฒนาตัวชี้วัดก็คือ “การมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง”
               ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในการก าหนดตัวชี้วัด และเพื่อให้ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นมาสามารถน าไปใช้
               ได้ และเป็นที่ยอมรับของผู้ปฏิบัติงานและเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่เป็น
               ประโยชน์ในการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน คณะผู้ศึกษาได้ร่วมกับส านักงาน กสม. ได้จัดการสัมมนาเพื่อ

               แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประเด็นต่างๆ เช่น ด้านวิธีการพัฒนาตัวชี้วัด สาระแห่งสิทธิ และเกณฑ์ตัวชี้วัด ขึ้น
               สามครั้ง ครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 เดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 14 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555
               และครั้งที่สาม เมื่อวันที่ 10 เดือนมกราคม พ.ศ. 2556

                     อนึ่ง รายงานการสัมมนาฉบับเต็มทั้งสามครั้งคณะผู้ศึกษาได้น ามาแนบไว้ในภาคผนวกเพื่อประโยชน์ใน

               การอ้างอิง และเพื่อใช้ในการศึกษาต่อไป (ภาคผนวกที่ 6-8)

                        3.3.1 สรุปผลการสัมมนาครั้งที่หนึ่ง


                              การสัมมนาครั้งที่หนึ่ง จัดขึ้น ณ โรงแรมที เค พาเลซ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ในวันอังคารที่ 13
               กันยายน พ.ศ. 2554  เวลา 09.00–17.00  น. โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ
               กระบวนการในการพัฒนาตัวชี้วัด และรวบรวมข้อมูลจากภาคส่วนต่างๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาตัวชี้วัด ทั้งนี้เพื่อ

               ช่วยให้ผู้ศึกษาได้กรอบในการจัดท าตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเพื่อใช้
               เป็นมาตรฐานเบื้องต้นรวมถึงได้ใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์สาระแห่งสิทธิ (rights  attributes) เบื้องต้นที่
               คณะผู้ศึกษาได้พัฒนาขึ้น


                              การสัมมนาครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วม 36  คน (ไม่รวมคณะผู้ศึกษาและวิทยากร) ผู้เข้าร่วมสัมมนา
               ประกอบด้วยบุคลากรจากภาคส่วนต่างๆ ดังนี้


               206
                   Human Rights Committee, “Concluding observations of the Human Rights Committee: Thailand”, (UN
                  Doc. No. CCPR/CO/84/THA), para 16
               207  Office of the High Commissioner for Human Rights, supra note 37
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79