Page 39 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 39

27


               Regroupment : III Protection (กลุ่ม : III การปกปูองคุ้มครอง)
               Family : 6 Juvenile justice (ครอบครัว : 6 เด็กในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา)

               Article (ข้อ)     Concept (แนวคิด)                       Indicators (ตัวชี้วัด)
                    40       Juvenile  justice (เด็กใน 1. จ านวนเด็กที่ตกเป็นผู้ต้องหา จ าแนกตามการกระท าผิด
                             กระบวนการยุติธรรมทางอาญา)  2. จ านวนคดีความอาญาที่เด็กอยู่ในฐานะผู้เสียหาย
                                                         3. จ านวนเด็กซึ่งเป็นผู้เสียหายในคดีอาญา จ าแนกตามอายุ

                                                         4. จ านวนผู้ต้องหาในคดีอาญาที่เด็กเป็นผู้ถูกกระท า
                                                           จ าแนกตามช่วงอายุของผู้ต้องหา
                    37       Treatment  of  Juvenile  1. จ านวนเด็กที่ประพฤติตนไม่สมควรแก่วัยและเข้ารับการ

                             delinquents (หลักการปฏิบัติ   สงเคราะห์ ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว กทม.
                             ต่อเด็กที่มีความประพฤติไม่ 2. อัตราการเปลี่ยนแปลงจ านวนเด็กที่ถูกฟูองศาล
                             สมควรกับวัย)                3. อัตราการเปลี่ยนแปลงจ านวนคดีที่เด็กถูกฟูองศาล


               2.4 บทสรุป

                     จากการศึกษาวิเคราะห์ในส่วนนี้น ามาสู่ข้อสรุปได้ดังนี้


                     ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ก่อพันธกรณีระหว่างประเทศในฐานะที่เป็นจารีตประเพณีโดยถือ
               ว่าสิทธิและเสรีภาพที่ได้รับรองไว้ในปฏิญญานั้นเป็นมาตรฐานขั้นต่ าที่มนุษย์ทุกคนพึงมี และรัฐจะต้อง
               ด าเนินการเคารพ ปกปูอง และท าให้เกิดขึ้นจริง


                     ส าหรับประเทศไทยในการประเมินการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศนั้น กสม.มีหน้าที่จัดท า
               รายงานคู่ขนาน เพื่อประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนเพื่อเสนอต่อองค์กรระหว่างประเทศที่มีหน้าที่พิจารณา
               รายงานของรัฐบาล ในการรายงานตามกระบวนการ UPR นั้น คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนได้ใช้สาระแห่งสิทธิที่

               รับรองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเป็นฐานในการพิจารณาการด าเนินงาน หน้าที่ในการเคารพสิทธิ
               มนุษยชนตามกฎบัตรสหประชาชาติ

                     ตัวชี้วัดเป็นการใช้ข้อมูล สถิติทางสังคมศาสตร์ รวมทั้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนที่

               เกิดขึ้นในประเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน และตรวจสอบการปฏิบัติ
               ตามพันธกรณีระหว่างประเทศ ว่าได้ด าเนินการสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศตามสิทธิมนุษยชนใน
               การเคารพ ปกปูอง และท าให้สิทธินั้นเป็นจริงหรือไม่ โดยพิจารณาจากกฎหมาย กลไก นโยบาย และมาตรการ
               ต่างๆ ที่รัฐได้ใช้


                     การจัดท าตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนจึงเป็นการสร้างเครื่องมือในการ
               ตรวจสอบการด าเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลตามที่ประเทศไทยมีพันธกรณีภายใต้กฎหมายระหว่าง
               ประเทศในการคุ้มครองบุคคล ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นตามกระบวนการการรายงานตามพันธกรณีระหว่างประเทศ

               มุ่งที่จะยกระดับการพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่อง
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44