Page 34 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 34
22
เหตุผลที่อธิบายในการก าหนดตัวชี้วัดกระบวนการ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุหรือ
ปัจจัยและผล ซึ่งจะท าให้ประเมินความรับผิดชอบของรัฐต่อพันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนได้ง่ายขึ้น เครื่องมือใน
การท าให้เปูาหมาย หรือความตั้งใจสัมฤทธิผลจึงพิจารณาจากมาตรการ วิธีการ ปฏิบัติการต่างๆ ไม่ว่าจะ
ด าเนินการโดยฝุายตุลาการ ฝุายบริหาร หรือฝุายนิติบัญญัติ และหมายความรวมถึงมาตรการต่างๆ ที่ด าเนิน
43
โดยภาคเอกชนด้วย
ตัวชี้วัดกระบวนการยังเป็นเครื่องมือชี้วัดความก้าวหน้าที่ท าให้พันธะหน้าที่เป็นจริง
ขึ้นมา กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ตัวชี้วัดกระบวนการนั้นสะท้อนความพยายามของรัฐในการพยายามที่จะปกปูอง
คุ้มครองส่งเสริมสิทธิมนุษยชนนั่นเอง
ลักษณะส าคัญประการหนึ่งก็คือ ตัวชี้วัดกระบวนการเป็นตัวชี้วัดที่มีการเปลี่ยนแปลง
ได้ง่าย ทั้งนี้ก็เพราะว่าเป็นตัวชี้วัดที่แสดง หรือบ่งชี้แนวทาง หรือนโยบาย เพื่อท าให้เกิดผลในทางปฏิบัติในการ
เคารพสิทธิมนุษยชน
ตัวอย่างตัวชี้วัดกระบวนการ เช่น นโยบายของรัฐที่พยายามให้เจ้าหน้าที่ต ารวจที่
ควบคุมการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายมีการปฏิบัติอย่างสอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศเกี่ยวกับการ
ใช้ก าลังของผู้บังคับใช้กฎหมายที่มีอ านาจถืออาวุธ สิ่งนี้จะสะท้อนออกมาในรูปของ “สัดส่วนของเจ้าหน้าที่
ต ารวจที่ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานระหว่างประเทศฯ” เป็นต้น
2.3.3.3 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome Indicators)
ตัวชี้วัดผลลัพธ์เป็นข้อมูลที่ใช้อธิบายความส าเร็จของการด าเนินการ หรือความ
พยายามด าเนินการตามโครงการ หรือมาตรการด้านต่างๆ ที่รัฐด าเนินการ เพื่อให้สิทธิด้านต่างๆ เกิดผลขึ้นจริง
44
ทั้งในแง่ของสิทธิมนุษยชนในภาพรวม และสิทธิในแต่ละด้าน
นอกจากนั้นตัวชี้วัดผลยังเป็นสิ่งที่สะท้อนความเหมาะสมของตัวชี้วัดโครงสร้างและ
ตัวชี้วัดกระบวนการอีกด้วย นั่นคือถ้าความสัมฤทธิ์ผลไม่เกิดขึ้น หรือมีค่าต่ า แสดงว่า อาจมีการก าหนดตัวชี้วัด
ที่ไม่เหมาะสม เช่น การก าหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของสภาพความเป็นจริงของสังคม หรือมี
ความไม่สอดคล้อง หรือเกิดความไม่สัมพันธ์กันระหว่างตัวชี้วัด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ มักใช้วัดพันธกรณีในการท าให้
45
เป็นจริง (obligation to fulfil)
ข้อควรค านึงในการพัฒนาตัวชี้วัดด้านสิทธิมนุษยชน
ประเด็นส าคัญที่ต้องท าความเข้าใจ คือ ตัวชี้วัดการด าเนินการปฏิบัติตามพันธกรณี
ของรัฐ (Compliance Indicators) นั้นมิได้ต้องการใช้เพื่อประเมินตัวชี้วัดผลการด าเนินงาน (Performance
43
ibid.
44
ibid
45 ibid.