Page 35 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 35

23


               Indicators) ซึ่งประเด็นนี้ ส านักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เน้นย้ าให้เห็นความ
               แตกต่างดังนี้


                                     ตัวชี้วัดผลการด าเนินงาน (Key Performance Indicators) เป็นการก าหนดและ
                                      พัฒนาตัวชี้วัดเพื่อวัตถุประสงค์ในการวัดผลการด าเนินงาน ความคืบหน้าที่ก าหนด

                                      เปูาหมายไว้  หรือเมื่อน ามาใช้กับงานด้านสิทธิมนุษยชนจึงหมายถึง การประเมิน
                                      หรือวัดการด าเนินงานที่รัฐบาล หรือหน่วยงานของรัฐได้ด าเนินการเปรียบเทียบกับ
                                      เปูาหมายที่รัฐบาลหรือหน่วยงานก าหนดไว้

                                     ตัวชี้วัดการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Key Compliance Indicators) เป็นการก าหนด
                                      และพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อประเมินการปฏิบัติตามข้อผูกพันหรือมาตรฐานด้าน
                                      สิทธิมนุษยชนที่รัฐเป็นภาคีและมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่าง
                                      ประเทศนั้น


                                   ประเด็นต่อมา วิธีก าหนดตัวชี้วัดโดยใช้วิธีการพิจารณาพันธะหน้าที่ของรัฐเป็นฐาน
               (Obligation-Based Approach) ไม่ควรมุ่งสู่เปูาหมายของการก าหนดตัวชี้วัดเพื่อตัดสินว่ารัฐละเมิดพันธะสิทธิ

               มนุษยชนหรือไม่

                                   นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ กรรมการสิทธิเด็กแห่งสหประชาชาติ  (ได้รับเลือกให้
                                                                      46
               ด ารงต าแหน่ง พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ. 2556) ได้กล่าวอย่างน่าสนใจว่า


                                   “การรายงานตามกระบวนการการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศ  คณะกรรมการ
               ที่พิจารณาไม่ได้ตัดสินรายงานว่า “ได้หรือตก” แต่การพิจารณาเป็นกระบวนการการพูดคุยเพื่อเสริมสร้างให้มี
               การพัฒนากระบวนการภายในของรัฐเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในการปกป้องคุ้มครองสิทธิ”


                                   การแบ่งประเภทตัวชี้วัดเป็นสามประเภทตามวิธีข้างต้นนี้ ได้มีการน าไปใช้โดยองค์กร
               ระหว่างประเทศหลายองค์กร เช่น โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United  Nations  Development
                           47
               Programme)  ซึ่งได้สนับสนุนให้ประเทศสมาชิกใช้ตัวชี้วัดประเมินโครงการพัฒนาที่มีฐานมาจาก
               สิทธิมนุษยชน  (Human  Rights-Based  Approach  for  development)  อันเป็นกรอบส าหรับการพัฒนา
               เพื่อให้สอดคล้องกับการพันธะหน้าที่ด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐ

                                   นอกจากนั้น มีบางประเทศที่มีการจัดท าตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนขึ้น ได้แบ่งประเภท

               ตัวชี้วัดโดยใช้วิธีการนี้ เช่น สหราชอาณาจักร และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ เป็นต้น ซึ่งจะได้ท าการศึกษาในบทที่
               4 โดยละเอียดต่อไป



               46
                   สรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ กล่าวแสดงความคิดเห็นในการประชุมคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดท าตัวชี้วัดการปฏิบัติตาม
                  พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 1/2555 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2555.
               47
                   ดูใน United Nations Development Programme, Indicators for Human Rights-Based Approaches to
                  Development in UNDP Programming: A users’ guide, (New York: UNDP, 2006).
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40