Page 309 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 309

231

                         อาจารย์วิชัย -  เราคงได้ตัวชี้วัดเบื้องต้น ที่ไม่ใช่ตัวชี้วัดตามเอกสารของ UN ในการศึกษาของ
                   สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ปทัสถาน หลักการพื้นฐานในการไม่เลือก

                   ปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์  เพศ จะเป็นพื้นฐานหลัก ส่วนเรื่องการเข้าถึง สิทธิในเรื่อง
                   เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ส่วนสิทธิในเรื่องของ ICCPR  สิทธิทางด้านพลเรือน การเมือง อาจารย์
                   วิทิตบอกว่าค่อนข้างวัดยาก ทําเพื่อจัดการตรวจสอบการรายงาน อาจจะต้องมีตัวเปูาหมาย
                   (benchmark) อยู่ด้วย ถ้าหากมีความคิดที่จะเลือกบางตัวที่จําเป็น ที่สําคัญ ที่สะท้อนสถานการณ์ใน

                   เมืองไทย อย่างไรบ้าง ต้องถามคนที่จะทํา และนําไปใช้ ตามที่อาจารย์วิทิตเสนอทํา  20 ตัว ที่จําเป็น
                   และแบ่งเป็นระยะ มีความคิดเห็นกันอย่างไร


                         คุณขรรค์ชัย คงเสน่ห์ (ส านักงาน กสม.) -  ขอแสดงความเห็นในเรื่อง indicators  เชิง
                   โครงสร้าง เชิงกระบวนการ เชิงผลลัพธ์ ในส่วนของหลักการ ทั้งหลักการที่จะต้องคํานึงถึงในเรื่องของ
                   การที่ไม่เลือกปฏิบัติ ในเรื่องของการเข้าถึงได้ง่าย เกณฑ์ที่วางกรอบไว้สําหรับ indicators ในแต่ละตัว
                   ตัวสุดท้ายที่วางเกณฑ์ไว้สําหรับ indicators แต่ละตัวนั้น ในตอนที่ทําอาจจะบอกตัวที่เป็นหลักไว้ก่อน
                   ส่วนเกณฑ์นั้นคนที่นําไปใช้คงต้องตั้งเอง ถ้านํา indicators  มาใช้กับประเทศไทย ควรจะเป็น

                   indicators ที่ทําให้คนทั่วไปมองเห็นภาพว่าเป็น indicators ที่ชี้ถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับ
                   ชีวิตของเขา เพราะถ้าไปทําในเรื่องของการทรมาน มันจําเป็นสําหรับคนส่วนน้อย แต่เป็นประเด็นที่
                   ยกขึ้นมาแล้วมองเห็นผลชัดๆ คนทั่วไป ชาวบ้านทั่วไปที่ไม่เคยมีคดีความ ไม่เคยยุ่งเกี่ยวกับเรื่องนั้นก็

                   จะมองภาพไม่ออก ว่าเป็น indicators  ที่เกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชนอย่างไร  มองว่า ICCPR และ
                   ESCR เป็นหลักพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนทั่วๆ ไปเป็นตัวหลัก
                         ส่วนประเด็นที่ว่าจํานวน indicators จะเท่าไหร่ดี ตามหลักการทางสถิติได้ indicators
                   พื้นฐานมาทั้งหมดแล้วจะกี่ร้อยอาจจะสองร้อยตัว เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยตัวไหนที่มีค่าสูงๆ ก็ตัดเอา

                   เฉพาะตัวที่มีค่าสูงมาใช้ จะเป็น 8-12-15  ตัวแล้วแต่ ที่จะเป็น  indicators ที่ทํา factor  analysis
                   ออกมาแล้วจะบอกได้ว่าในแต่ละตัวจะมีศักยภาพสูงในการที่จะชี้วัดได้

                         คุณวรพจน์ พวงสุวรรณ (ส านักบริหารกลาง กสม.) -  เห็นด้วยกับคุณขรรค์ชัย ปกติการทํา

                   indicators  มีเท่าไหร่ใส่ให้หมดแล้วมาดู data  map  เทคนิคทางคุณขรรค์ชัยใช้เป็นเชิงปริมาณ มี
                   ปัญหาตัวชี้วัดบางตัวจะเป็นเชิงคุณภาพด้วย ทางอาจารย์เรียกว่า benchmark ทาง จปฐ. จะเรียก
                   indicators gat index ใช้ index เป็นตัวชี้ในตัว indicators อีกทีหนึ่ง บางครั้งเราอาจคิดว่าเป็นตัว
                   indicators แต่จริงๆ แล้วเป็นแค่ index  ของ indicators ตัวนั้น การนึกอะไรได้ใส่ก่อน การทําแบบ

                   นั้นเพื่อรายงาน หรือแนวคิดการดําเนินการของ HRI  ฝากไว้เรื่องผู้ปกปูองสิทธิหรือ Human  Rights
                   Defender ไม่มีใครพูดถึง delay justice is no justice ถ้าไม่ให้ความเป็นธรรมโดยเร็ว ก็ถือว่าไม่ได้
                   รับความเป็นธรรม เชื่อว่าถ้าศึกษา ICCPR และ ESCR บางตัวเชื่อมกันอยู่ ถ้าตัวหนึ่งผ่านอีกตัวจะได้

                   ด้วย ต้องวิเคราะห์ตัว indicators อย่าเพิ่งไปจัดว่าเท่าไหร่ ใส่มาก่อนแล้วจัดประเภท หมวดหมู่
                   category นําศาสตร์ด้าน indicators มาจัดแล้วมันจะได้

                         อาจารย์วิชัย - มีประเด็น ถ้าได้สองด้านใหญ่ คือ ICCPR และ ESCR ปัญหาใหญ่ คือ การจะ
                   แยกแยะสิทธิอย่างไร



                   รายงานการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 1
   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314