Page 18 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 18

๑๔





                       ทรัพยสินที่ติดอยูกับความเปนมนุษยทุกคนมาแตกําเนิดในฐานะที่เกิดมาเปนมนุษยและไมมีมนุษย
                       คนใดที่จะพรากหรือโอนสิทธิดังกลาวไปจากมนุษยแตละคนได ดังนั้น จึงเปนการไมสมควรที่จะ

                       ใหมนุษยสามารถถือสิทธิครอบครอง ซื้อขาย กดขี่ขมเหง และกระทําทารุณกรรมมนุษยดวยกันได

                                     ๒) สิทธิมนุษยชนในฐานะที่เปนหลักการในการจํากัดอํานาจของผูปกครอง
                                     จากพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของมนุษยชาติ จะพบวาการตอสูเรียกรอง

                       เพื่อใหไดมาซึ่งสิทธิเสรีภาพของมนุษยเปนผลมาจากความขัดแยงอันเนื่องมาจากความไมเทาเทียมของ

                       กลุมบุคคลสองกลุม คือ กลุมแรกเปนกลุมที่มีความเขมแข็งและมีอํานาจในการกําหนดความเปนไป
                       ภายในสังคม เชน กลุมชนชั้นปกครอง กลุมนักการเมือง กลุมพอคาและนักธุรกิจ และกลุมอิทธิพล

                       สวนอีกกลุมหนึ่งเปนกลุมที่มีอํานาจตอรองในทางสังคมนอยกวากลุมแรกและตองปฏิบัติตามการชี้นํา
                                                                                                        ๓๕
                       ของกลุมแรก เชน กลุมชาวนาและเกษตรกร กลุมผูใชแรงงาน และชนชั้นที่มีฐานะยากจน
                       และคนกลุมแรกมักใชกําลังและอํานาจที่ตนมีกดขี่ขมเหงเอารัดเอาเปรียบคนกลุมหลังอยางไรมนุษยธรรม

                       โดยเฉพาะชนชั้นผูปกครอง ทําใหคนกลุมหลังซึ่งอยูในฐานะผูถูกปกครองพยายามหากฎเกณฑตางๆ
                       เพื่อมาจํากัดอํานาจของผูปกครอง ไดแก แนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติและแนวคิดเรื่องสิทธิธรรมชาติ

                       กลาวโดยเฉพาะแนวคิดเรื่องสิทธิธรรมชาติในฐานะแนวคิดเริ่มตนของสิทธิมนุษยชน ไดเสนอผานทฤษฎี

                       สัญญาประชาคมตามแนวความคิดของ John Locke ทั้งนี้ เพื่ออธิบายถึงที่มาและขอจํากัดอํานาจของรัฐ
                       หรือผูปกครอง โดยอางวาในสภาวะธรรมชาติมนุษยทุกคนเทาเทียมกันและมีเสรีภาพอยางเต็มที่ใน

                       การกําหนดตนเองและเมื่อมีการลวงละเมิดกันเกิดขึ้น มนุษยทุกคนก็มีอํานาจที่จะบังคับตามสิทธิที่ตน
                       มีอยูไดดวยตนเอง ทําใหเกิดความไมมั่นคงปลอดภัยตอไปในสภาวะธรรมชาติ และเพื่อความมั่นคง

                       ปลอดภัยและความสงบเรียบรอยในสภาวะธรรมชาติ มนุษยจึงตกลงเขาทําสัญญาอยูรวมกันเปนสังคม

                       และจัดตั้งรัฐบาลขึ้นเพื่อทําหนาที่ปกครองรักษาความสงบเรียบรอยและอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้น
                       ในสังคมเรียกวาสัญญาประชาคม (Social Contract) โดยประชาชนแตละคนยอมสละสิทธิบางสวน

                       ของตน คือ สิทธิที่จะบังคับกันเองใหรัฐหรือรัฐบาลซึ่งไดจัดตั้งขึ้นตามสัญญา แตทุกคนยังสงวนสิทธิใน

                       ชีวิต เสรีภาพ และทรัพยสินอันเปนสิทธิธรรมชาติของมนุษยไว ซึ่งรัฐหรือบุคคลใดจะทําลาย
                       ลวงละเมิดหรือขัดขวางสิทธิดังกลาวไมได และเมื่อใดที่รัฐหรือรัฐบาลทําผิดเงื่อนไขที่ตกลงไวในสัญญา

                       โดยการละเมิดสิทธิธรรมชาติของประชาชน ถือวารัฐไดกระทําการอันเปนการฝาฝนความไววางใจของ
                       ประชาชนตามสัญญาซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญแหงการมีอํานาจของรัฐ ประชาชนผูถูกปกครองยอมมีอิสระ

                       ในการถอดถอนหรือลมลางรัฐหรือผูปกครองที่ทําผิดสัญญาได และอิสระในการถอดถอนหรือลมลาง
                                                                                         ๓๖
                       ผูปกครองดังกลาว คือ สิทธิธรรมชาติในการลงโทษผูปกครองของผูถูกปกครอง  ซึ่งตอมาเรียกวา
                       สิทธิมนุษยชน




                              ๓๕
                                อุดม  รัฐอมฤตและคณะ, อางแลว เชิงอรรถที่ ๕, น. ๒.
                              ๓๖
                                จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ ๗, น. ๑๑๓.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23