Page 17 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 17

๑๓





                       ตัวเองและยังตองพึ่งพาอาศัยชนชั้นสูงอยูทั้งในดานความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและปจจัยสี่
                                                                               ๓๔
                       และสภาพการณเชนนี้ปรากฏทั้งในสังคมตะวันตกและตะวันออก คือ
                                     ในสังคมตะวันตกเริ่มตั้งแตสมัยเมโสโปเตเมีย ที่แฝงไวดวยความทารุณกรรม

                       ของระบบทาส การประหารหมูทาสฝงตามลงไปในประเพณีฝงศพพระราชา การลงโทษที่รุนแรง
                       ในลักษณะตาตอตาฟนตอฟน เชน ถาคนไขตายในระหวางการผาตัดแพทยผูผาตัดตองถูกประหาร

                       ตายตามไปดวย สมัยอียิปต ภาพของแรงงานทาสการทําการทารุณกรรมทาสและการสูญเสียแรงงาน

                       ทาสจํานวนมหาศาลจากการสรางพิรามิด สมัยฮิบรู ที่ชาวยิวตกเปนทาสของอียิปตและตองทํางาน
                       หนักไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัส สมัยกรีก แมกรีกจะมีความรุงโรจนในทางปรัชญา โดยเฉพาะปรัชญา

                       กฎหมายธรรมชาติและสิทธิธรรมชาติที่เชื่อในความเสมอภาคทัดเทียมแหงคุณคาของมนุษยที่มีเหตุผล

                       โดยธรรมชาติเสมอกัน แตจากชะตาชีวิตของ ๓ นักปรัชญาที่ยิ่งใหญของกรีกโบราณ ไดแก โสกราตีส
                       เพลโต และอริสโตเติ้ล อาจสะทอนใหเห็นการเบียดเบียน การขมเหงกันภายในสังคมกรีกไดในระดับหนึ่ง

                       ที่วาระสุดทายแหงชีวิตโสกราตีสตองสิ้นสุดลงดวยการดื่มยาพิษฆาตัวตายตามคําพิพากษาของ
                       ศาลประชาชน การเนรเทศตัวเองออกจากเอเธนสของเพลโตและถูกจับเปนทาสไปขายในตลาด และ

                       อริสโตเติ้ล ที่ตองหลบหนีแทนการเผชิญหนากับโทษประหารชีวิตแบบโสกราตีส และในสมัยโรมัน

                       แมโรมันจะมีความเรืองรองแหงเหตุผลหรือคุณคาของความยุติธรรมรองรับกฎหมายโรมัน แตก็ไมอาจ
                       บดบังหรือ  ปดกั้นความปาเถื่อนหรือการขมเหงมนุษยดวยกันในสังคม โรมันถือวาทาสมิใชเพียงแค

                       แรงงานในการผลิตของนายทาสเทานั้น หากยังเปนเสมือนวัตถุไรชีวิตที่ตอบสนองความตองการ
                       ทุกอยางของนายและอาจถูกซื้อขายกันไดดังเชนสัตวเลี้ยง และปรากฏการณเชนนี้ก็ยังดํารงเรื่อยมาใน

                       สังคมตะวันตกตลอดจนสมัยใหม ในขณะที่ในสังคมตะวันออกก็มีสภาพการณไมแตกตางกัน ดังจะเห็น

                       ไดจากในสังคมอินเดียที่มีความเชื่อในระบบวรรณะหรือการแบงชั้นวรรณะของมนุษยออกเปน
                       ๔ ประเภท ไดแก พราหมณ กษัตริย ไวศยะ และศูทรหรือทาส หรือแมกระทั่งสังคมไทยในอดีตที่มี

                       ระบบทาสกับนายทาส เปนตน

                                     ตอมา เมื่อสังคมมนุษยมีความเจริญขึ้น มนุษยมีความเปนตัวของตัวเองและมีเหตุผล
                       กวาแตกอน มนุษยจึงสามารถชวยเหลือและดําเนินชีวิตไดดวยตนเองโดยไมตองพึ่งพาอาศัยผูอื่น

                       เหมือนแตกอนหรือพึ่งพาอาศัยผูอื่นแตนอยเทาที่จําเปน มนุษยโดยเฉพาะชนชั้นลางจึงมีความ
                       พยายามแสวงหาแนวทางเพื่อปลดปลอยอิสรภาพตนเองจากอํานาจกดขี่ครอบงําของชนชั้นสูง

                       ที่เหนือกวาหรือเพื่อใหชนชั้นลางซึ่งเปนผูดอยกวามีอิสรเสรีภาพมากขึ้นกวาเดิมหรือมีโอกาสพัฒนา

                       ตนเองใหทัดเทียมกับชนชั้นสูงที่เหนือกวา สิทธิมนุษยชนจึงถูกกลาวถึงในฐานะเปนอุดมคติที่มนุษย
                       กลาวอางขึ้นเพื่อเรียกรองอิสรภาพและความเทาเทียมกันของมนุษย โดยอางวามนุษยทุกคนเกิดมา

                       ยอมมีความเสมอภาคเทาเทียมกันและมีสิทธิบางอยางเหมือนกัน คือ สิทธิในชีวิต เสรีภาพและ



                              ๓๔
                                รายละเอียดโปรดดู จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ ๗, น. ๓ – ๓๔.
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22