Page 13 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 13

๙





                       และรัฐหรือบุคคลใดก็ไมอาจกระทําการใดอันเปนการพรากสิทธิดังกลาวไปจากบุคคลได
                       เพราะหากยอมใหมีการโอน การสละ หรือการพรากสิทธิมนุษยชนไปจากบุคคลได เทากับยอม

                       ใหมีการสละหรือทําลายความเปนมนุษยของบุคคลได ซึ่งไมอาจทําได เพราะความเปนมนุษย

                       ไมอาจจะสละโอนหรือทําลายไดโดยรัฐหรือบุคคลใดแมกระทั่งมนุษยคนนั้นเอง
                                     นิยามความหมายสิทธิมนุษยชนดังกลาว เปนการนิยามความหมายสิทธิมนุษยชน

                       ในยุคเริ่มตนในสังคมตะวันตก และเมื่อสังคมและอุดมการณทางการเมืองการปกครองของตะวันตก

                       เปลี่ยนแปลงไป การนิยามความหมายสิทธิมนุษยชนในสังคมตะวันตกก็เปลี่ยนไป

                       ตามความเปลี่ยนแปลงของสังคมดวย
                                     ๒) ความหมายตามแนวคิดสมัยใหม

                                     ตามแนวคิดสมัยใหมเห็นวาสิทธิมนุษยชนไมใชสิทธิที่มีมาโดยธรรมชาติของมนุษย
                       แตเกิดจากการกระทําหรือการสรางสรรคของมนุษยภายหลังที่เกิดสังคมการเมืองที่เรียกวารัฐแลว

                       และเห็นวาสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องอุดมการณหรือแนวคิดที่มนุษยกลาวอางเพื่อเรียกรองใหประโยชน
                       ของตนไดรับการรับรองคุมครองจากผูปกครองหรือรัฐ โดยอางความชอบธรรมของประโยชนนั้นๆ

                                                                 ๑๗
                       วาเปนสิ่งจําเปนตอความเปนมนุษย (Human dignity)  และมีการพัฒนาไมหยุดนิ่งตามความเปลี่ยนแปลง
                       ของสังคมมนุษยในแตละยุคสมัย สิทธิมนุษยชนตามแนวคิดสมัยใหมจึงไมใชสัจธรรมที่เปนนิรันดร
                                                                                            ๑๘
                       หรือคุณคาสูงสุดและมิใชสิ่งสมบูรณถูกตองในทุกๆ สถานที่หรือโดยไมจํากัดกาละ  หากแตมีการ
                       เปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาการทางประวัติศาสตรการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
                       ในแตละยุคสมัย และจากวิวัฒนาการของสังคมมนุษยในแตละยุคสมัยจนกระทั่งปจจุบัน จะพบวาสิทธิ

                                                                           ๑๙
                       มนุษยชนมีพัฒนาการทางประวัติศาสตรแบงออกเปน ๓ ยุค คือ
                                     ยุคที่ ๑ สิทธิมนุษยชนแบบปจเจกชนนิยม (Individualism) ที่เนนคุณคาอุดมคติเรื่อง
                       “อิสระเสรีภาพ” ของมนุษยและถือเปนยุคเริ่มตนแหงสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Civil and

                       Political Rights) ปรากฏชัดในขอเขียนของ John Locke นักปรัชญาชาวอังกฤษที่ใหความสําคัญ

                       กับคุณคาของมนุษยแตละคนในฐานะปจเจกชน (Individualism) วามีสิทธิอิสระที่ผูมีอํานาจ
                                                                                            ๒๐
                       จะละเมิดมิไดอยูและผูมีอํานาจตองยอมรับพรอมๆ กับการจํากัดอํานาจผูปกครอง  โดยผานทาง
                       สัญญาประชาคม (Social  Contract) และ Locke ไดอาศัยทฤษฎีสิทธิปจเจกชนนิยมนี้สนับสนุน





                              ๑๗
                                 วิชัย  ศรีรัตน, “พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน”, ดุลพาห, ปที่ ๔๘, เลมที่ ๓, กันยายน – ธันวาคม
                       ๒๕๔๔, น. ๔๗.
                              ๑๘
                                จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ ๗, น. ๑๒๕.
                              ๑๙
                                เพิ่งอาง, น. ๗๙.
                              ๒๐
                                 บวรศักดิ์  อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชนเลม ๑ วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมาย
                       มหาชนยุคตางๆ , พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, ๒๕๔๖), น. ๖๔.
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18