Page 10 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 10
๖
ในการทํารางปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนและไดรับการยอมรับจนใชคํานี้อยางจริงจัง
๔
ในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. ๑๙๔๘ และเปนที่รูจักและยอมรับทั้งในระดับ
ระหวางประเทศและภายในประเทศและใชคํานี้มาจนกระทั่งปจจุบัน
๑.๑.๑ ความหมายและความสําคัญของสิทธิมนุษยชน
(๑.๑.๑.๑) ความหมายของสิทธิมนุษยชน
แมรัฐทุกรัฐจะใหความสําคัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชนและยอมรับวาเปนเรื่องที่เกี่ยวกับ
รัฐทุกรัฐไมใชเรื่องภายในของรัฐใดรัฐหนึ่งอีกตอไป แตก็ยังไมมีการกําหนดนิยามของคําวา
“สิทธิมนุษยชน” ใหชัดเจนวาหมายความวาอยางไร แมแตในกฎบัตรสหประชาชาติ ค.ศ. ๑๙๔๕
ในฐานะธรรมนูญขององคการสหประชาชาติและตราสารเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ
ฉบับแรกที่ใหการยอมรับและคุมครองสิทธิมนุษยชนในระดับโลก หรือแมแตในปฏิญญาสากลวาดวย
สิทธิมนุษยชน ค.ศ. ๑๙๔๘ ซึ่งถือเปนเอกสารแมบทของสิทธิมนุษยชนปจจุบันก็ไมไดใหความหมาย
๕
ของสิทธิมนุษยชนไวอยางเฉพาะเจาะจง วาหมายความวาอยางไร คงกําหนดไวแตเพียงองคประกอบ
๖
หรือลักษณะของสิ่งที่จะถือวาเปนสิทธิมนุษยชนเทานั้น
๔
Alan S. Rosenbaum (Ed), “The Philosophy of Human Rights International Perspective”,
Op.cit., P.9 อางถึงใน จรัญ โฆษณานันท, สิทธิมนุษยชนไรพรมแดน ปรัชญา กฎหมาย และความเปนจริง
ทางสังคม, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติธรรม, ๒๕๔๕), น. ๕๙ – ๖๐.
๕
อุดม รัฐอมฤต และคณะ, การอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตาม
มาตรา ๒๘ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐, (กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดนานา
สิ่งพิมพ, ๒๕๔๔), น. ๔๒.
๖
คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ. เอกสารสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ.
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘
คําปรารภ
“ดวยเหตุที่การยอมรับศักดิ์ศรีประจําตัว และสิทธิซึ่งเสมอกันและไมอาจโอนแกกันไดของสมาชิกทั้งปวง
แหงครอบครัวมนุษยเปนรากฐานของเสรีภาพ, ความยุติธรรมและสันติภาพในพิภพ,...”
ขอ ๑. มนุษยทั้งหลายเกิดมามีอิสรเสรีและเทาเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิทุกคนไดรับการประสิทธิ
ประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติตอกันอยางฉันพี่นอง
ขอ ๒.บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพประดาที่ระบุไวในปฏิญาณนี้, ทั้งนี้ โดยไมมีการจําแนกความ
แตกตางในเรื่องเรื่องใดๆ, เชน เชื้อชาติ, สีผิว, เพศ, ภาษา, ศาสนา, ความเห็นทางการเมือง, หรือทางอื่นใด, ชาติ
หรือสังคมอันเปนที่มาเดิม, ทรัพยสิน, กําเนิด, หรือสถานะอื่นใด.
นอกจากนี้ การจําแนกขอแตกตางโดยอาศัยมูลฐานแหงสถานะทางการเมืองทางดุลอาณาหรือทางเรื่อง
ระหวางประเทศของประเทศ หรือดินแดนซึ่งบุคคลสังกัดจะทํามิได ทั้งนี้ไมวาดินแดนดังกลาวจะเปนเอกราช
อยูในความพิทักษมิไดปกครองตนเองหรืออยูภายใตการจํากัดแหงอธิปไตยอื่นใด.