Page 8 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 8

๔





                              อยางไรก็ตาม ในระยะหลังๆ นี้ ปรากฏวามีเรื่องรองเรียนหลายๆ เรื่องที่เสนอมา
                       ยังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเพื่อใหพิจารณาตรวจสอบวาการกระทําตามเรื่องรองเรียน

                       เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม เปนเรื่องเกี่ยวกับการกระทําของเอกชนตอเอกชนดวยกัน

                       และมีการตั้งประเด็นปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                       วาคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการกระทําในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันหรือไม

                       อันเปนปญหาเกี่ยวกับความรูความเขาใจของประชาชนทั่วไปตออํานาจหนาที่และการปฏิบัติหนาที่

                       ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเปนปญหาพื้นฐานที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอขอบเขต
                       ของการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการสงเสริมและคุมครองสิทธิ

                       มนุษยชน แกบุคคลทั่วไปตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

                       และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
                              คณะผูศึกษาวิจัยจะไดนําขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นตามเรื่องรองเรียนตางๆ ดังกลาวมาใชเปนฐาน

                       ในการวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                       ตอการกระทําขององคกรของรัฐและตอการกระทําของเอกชนอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนและ

                       นําเสนอแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาวตอไป เพื่อใหประชาชนเกิดความเขาใจที่ถูกตองตรงกัน

                       เกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตลอดจนผลของการปฏิบัติ
                       หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติดวย

                              แตการที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขาไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                       ในความสัมพันธระหวางเอกชนดังกลาวมีลักษณะเปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของ

                       บุคคล ดังนั้น จึงตองมีบทบัญญัติของกฎหมายใหอํานาจไวจึงจะกระทําได โดยการทําหนาที่ดังกลาว

                       ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะมีขอบเขตที่จะกระทําไดแคไหน เพียงใด ขึ้นอยูกับวามี
                       หลักการและมาตรฐานสากล หรือกฎหมายภายในของประเทศนั้นๆ กําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ไว

                       อยางไร และในปจจุบันมีปญหาในเกี่ยวกับขอกฎหมายและปญหาที่เกิดจากทางปฏิบัติอยางไรบาง

                       ซึ่งปญหาตางๆ ที่กลาวมานั้น ผูศึกษาวิจัยไดนํามากําหนดเปนประเด็นการศึกษาวิจัยหลักของ
                       การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โดยคณะผูศึกษาวิจัยจึงไดศึกษาวิเคราะหหลักเกณฑตางๆ จากหลักทฤษฎี

                       และตําราทางวิชาการที่เกี่ยวของ พรอมทั้งศึกษาปญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้น เพื่อนําผลการศึกษา
                       ที่ไดมาจัดทําเปนขอเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                       ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันใหมีความชัดเจนและ

                       สอดคลอง ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๕๗
                       วรรคหนึ่ง (๑) และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ (๒)

                       ซึ่งจะปรากฏรายละเอียดของการศึกษาในบทตางๆ ที่เกี่ยวของตอไป
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13