Page 61 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 61

กิจกรรม 3.2 กรณีศึกษา แนวทางการชวยเหลือแรงงานขามชาติที่ถูกละเมิดสิทธิแรงงาน
                  วัตถุประสงค
                  1. เพื่อใหขอมูลแกผูเขารวมอบรมถึงแนวทางการเรียกรองสิทธิแรงงานขามชาติเมื่อถูกละเมิด

                  2. เพื่อใหผูเขารวมอบรมไดอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณจริง และแสดงทัศนคติตอแนวทางการ
                      ชวยเหลือแรงงานขามชาติที่ถูกละเมิดสิทธิดานแรงงาน

                  ระยะเวลา : 3 ชั่วโมง
                  สื่อ/อุปกรณ
                  1. เอกสารกฎหมายแรงงาน

                         (1)  พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2551
                         (2) พระราชบัญญัติการทำงานของคนตางดาว พ.ศ. 2551

                         (3) พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518
                         (4) พระราชบัญญัติกองทุนเงินทดแทน
                  2. กรณีศึกษา

                         (1) กรณีตองการใบแจงออก (นางมู)
                         (2) กรณี หจก. นัทนิตติ้ง อ.แมสอด จ.ตาก

                         (3) กรณีบริษัท บางกอกรับเบอร
                         (4) กรณีโรงงานเดชาแหอวน จ.ขอนแกน
                         (5) กรณีไมไดรับสิทธิประโยชนจากกองทุนเงินทดแทน (นางหนุม)

                         (6) กรณีเรือประภาสนาวี
                  3. กระดาษฟลิปชารต และปากกาเคมี

                  4. เครื่องฉาย LCD พรอมจอ
                  กระบวนการ
                  1. แบงผูเขารวมอบรมเปน 4 กลุม และแจกเอกสารประกอบการอบรมใหแตละกลุม

                  2. ใหแตละกลุมแสดงละครสั้น (Role Play) กรณีศึกษาที่ไดรับ (ใหเวลาเตรียมตัว 20 นาที และแสดง
                      กลุมละ 10 นาที)

                  3. เมื่อแตละกลุมแสดงจบ ใหผูเขารวมอบรมชวยกันวิเคราะหในประเด็น (กลุมละ  15-20 นาที)
                         (1) สิทธิแรงงานที่ถูกละเมิด วิเคราะหโดยยึดหลักกฎหมายแรงงานไทย หลักสิทธิมนุษยชน และ
                               มาตรฐานแรงงานสากล

                         (2) แนวทางแกปญหา และอภิปรายแนวทางแกปญหาที่ไดเกิดขึ้นแลว





                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   45
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66