Page 56 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 56
บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน
แนวคิด
สิทธิแรงงานของแรงงานขามชาติที่ทำงานในประเทศไทยถูกกำหนดดวยขอกฎหมายของไทย
ฉบับลาสุด ไดแก พระราชบัญญัติการทำงานของคนตางดาว พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติคุมครอง
แรงงาน พ.ศ. 2551และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติ
เงินทดแทน พ.ศ. 2537 สวนการคุมครองสิทธิแรงงานในระดับสากลนั้นไดกำหนดสิทธิแรงงานโดยยึดถือ
หลักสิทธิมนุษยชนเปนหลักตาม ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ(พ.ศ. 2491)
ปจจุบันยังมีอนุสัญญาบางฉบับที่ไทยยังไมไดใหสัตยาบัน ซึ่งมีสิทธิแรงงานบางประการในอนุสัญญา
ไมสอดคลองกับสิทธิแรงงานสากล ดังนั้น การศึกษาเรื่องสิทธิแรงงานขามชาติจำเปนตองพิจารณา และ
วิเคราะหทั้งในประเด็นขอกำหนดกฎหมายและหลักสากลแหงมาตรฐานแรงงานระหวางประเทศประกอบกัน
ในบทนี้ผูเขารวมอบรมจะไดทราบถึงสาระสำคัญเรื่องสิทธิและความคุมครองในการทำงานที่
แรงงานขามชาติพึงไดรับเมื่อทำงานในประเทศไทย ประกอบดวย
• สิทธิในการประกอบอาชีพของแรงงานขามชาติ และกิจการที่มีแรงงานขามชาติสวนใหญทำ
ไดแก งานเกษตรกรรม งานประมง งานกอสราง และงานแบบจางเหมา
• สิทธิในการไดรับคาตอบแทนและคาชดเชย ไดแก การจายคาจางคาตอบแทน คาทำงาน
ลวงเวลา คาทำงานในวันหยุด คาชดเชยกรณีเลิกจาง
• สิทธิเกี่ยวกับการทำงาน ไดแก สิทธิในเวลาทำงาน วันลา วันหยุด การคุมครองแรงงานหญิง
การคุมครองแรงงานเด็ก สิทธิในการไดรับสวัสดิการในที่ทำงาน
• ความคุมครองเมื่อถูกละเมิดสิทธิในการทำงาน แรงงานขามชาติควรจะทำอยางไร และมี
หนวยงานใดบางที่ใหความชวยเหลือ
วัตถุประสงค
เพื่อใหผูที่ทำงานเกี่ยวของกับแรงงานขามชาติเขาใจสิทธิในการทำงานของแรงงานขามชาติ
สามารถวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจริงและนำใชเปนแนวทางในการทำงาน เพื่อใหคำแนะนำ และความ
ชวยเหลือแกแรงงานขามชาติในกรณีตางๆ
40 บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน