Page 59 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 59

บริษัทดังกลาวเปดโรงงานทุกวันไมมีวันหยุดวันอาทิตย ทำงานตั้งแต 8.00 น. พักเที่ยง 1 ชั่วโมง
                  แลวเริ่มทำงานตอ 13.00 น. จนถึง 17.00 น. และบังคับทำงานลวงเวลา (โอที) ในวันจันทร อังคาร พฤหัสบดี
                  และศุกร ทำงาน 18.00 น. – 23.00 น. จะจายคาแรงเพิ่ม 20 บาท เฉพาะพนักงานประจำ หากทำงาน

                  เกินเวลา 21.00 น. จนถึง 23.00 น. สวนวันพุธ และวันเสารทำงานถึง 21.00 น. ไมมีการจายคาลวงเวลา
                  เนื่องจากทำงานไมเกิน 21.00 น. สวนวันอาทิตยทำงานจนถึงเวลา 17.00 น. ไมมีลวงเวลา


                                                             ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก link http://www.prachatai.com/05web/th/home/11047


                  กสม.แนะปลดล็อค “กองทุนเงินทดแทน” ยกกรณีศึกษา-คุมครองตางดาวหลายแสน
                         คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) ไดพิจารณาขอรองเรียนกรณีนางหนุม ไหมแสง

                  แรงงานขามชาติชาวไทยใหญ ซึ่งประสบอุบัติเหตุจากการทำงานจนรางกายพิการถาวร  แตไมไดรับสิทธิ
                  ประโยชนจากกองทุนเงินทดแทน  สำนักงานประกันสังคม (สปส.) โดยนางหนุมกลาววา เขามาทำงาน
                  ในประเทศไทยตั้งแตป 2547 ทำงานกอสรางไดคาจางวันละ 130 บาท (คาจางขั้นต่ำเชียงใหมวันละ 155 บาท)

                  และเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549 ขณะกำลังทำงานอยูในสถานที่กอสราง ปรากฎวาแบบเทปูน
                  ขนาดใหญไดตกลงมาจากชั้น 12 ของตึก ทับตนจนไดรับบาดเจ็บสาหัสกระดูกสันหลังแตก และไดเขา

                  รักษาตัวที่โรงพยาบาลมหาราช โดยใชคารักษาจากบัตรประกันสุขภาพแรงงานตางดาว สุดทายตองตก
                  อยูในสภาพเปนอัมพาต 70 เปอรเซ็นต
                         “เจาหนาที่สำนักงานประกันสังคมเชียงใหม ไดออกคำสั่งเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2550 ใหนายจาง

                  จายคาทดแทนใหดิฉันเปนรายเดือน แตที่ผานมากลับไมไดรับแจงใดๆ จากนายจางเลย ซึ่งสามีของดิฉัน
                  ซึ่งทำงานที่เดียวกันไดเรียกรองไปที่นายจาง  ซึ่งเขาสัญญาวาจะจายให  แตก็ยังไมได  แถมเสนอใหดิฉัน

                  และสามีกลับพมา โดยจะจายให 3 หมื่นบาท และคาเดินทางอีก 1 หมื่นบาท” นางหนุมกลาว และวาทั้งนี้
                  ฝายกฏหมายที่เขามาชวยเหลือบอกวา  ตามหลักเกณฑในพระราชบัญญัติเงินทดแทน  ตนควรไดรับเงิน
                  ทดแทนอยางนอย 4 แสนบาท

                         นางสุนี  ไชยรส กรรมการ กสม. กลาววา ปญหาเฉพาะหนา คือ สปส. ตองชวยเหลือนางหนุม
                  นำมาฟนฟูที่ศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ เพราะขณะนี้โรงพยาบาลไดใหนางหนุมออกแลว และระหวาง

                  ที่เรื่องกำลังอุทธรณ ทาง กสม. จะสงหนังสือถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานและเลขาฯ สปส. เพราะ
                  มีประกาศป 2544 วาตองมีใบอนุญาตทำงานถึงจะเขาไปใชเงินกองทุนทดแทนได ซึ่งเปนการออกระเบียบ
                  ที่ละเมิด  เพราะกองทุนเงินทดแทนควรคุมครองแรงงานตางดาวทุกคน  และแรงงานตางดาวสวนใหญมี

                  ใบอนุญาตที่ทางการออกให แตไมใชใบอนุญาตทำงาน


                                                                             ขาววันที่ 24 ตุลาคม 2550 หนังสือพิมพมติชน หนา 5




                                                                                     บทที่ 3 สิทธิในการทำงาน   43
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64