Page 45 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 45

o ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และการรองรับโดยกฎหมาย อนุสัญญา ขอบังคับ ทั้งระดับ
                     ชาติและนานาชาติ
                         เมื่อประเทศไทยเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาจึงกอใหเกิดพันธกรณีที่ตองปฏิบัติใหสอดคลองกับ
                  สนธิสัญญา โดยเฉพาะการสรางหลักประกันเพื่อตรวจสอบและกลั่นกรองการใชอำนาจของเจาพนักงาน
                  ที่อาจสงผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของประชาชนโดยเฉพาะการตรวจคน  จับกุมและคุมขัง  เปนตน

                  รวมทั้งมาตรการตางๆที่เปนการเยียวยาแกผูถูกกลาวหาที่บริสุทธิ์และผูเสียหายในคดีอาญาและพยาน
                         นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญมาตรา 256 ฉบับปพ.ศ. 2550 กำหนดใหมีองคกรตามรัฐธรรมนูญ เรียกวา
                  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (National Human Rights Commission) มีอำนาจหนาที่ตรวจสอบ
                  และรายงานการกระทำ หรือละเลยการกระทำอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเปนไปตามพันธะกรณี
                  ระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี  และมีอำนาจเสนอเรื่องพรอมความเห็น
                  ตอองคกรอิสระอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญ
                         สิทธิมนุษยชนมีความสัมพันธกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งเปน  กระบวนการในการ

                  นำตัวผูกระทำผิดกฎหมายอาญามาลงโทษ จึงไดมีมาตรการทางกฎหมายตางๆ ไวมากมายนับตั้งแต
                  การจับ  การคน  การควบคุม  การสอบสวน  การฟองรองคดีตอศาล  การพิจารณาและพิพากษาคดี
                  ในขั้นตอนตางๆ เหลานี้ กฎหมายไดใหอำนาจรัฐไวอยางรัดกุม ทั้งนี้เพื่อมิใหคนบริสุทธิ์ตองถูกลงโทษ
                  หรือแมบุคคลดังกลาวจะเปนผูกระทำความผิด  แตการปฏิบัติตอผูกระทำความผิดก็จะตองเปนไปอยาง
                  เปนธรรม ไมโหดราย ทารุณ หรือละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของเขา กฎหมายตางๆ จึงตองพยายาม

                  รักษาความสมดุลระหวางอำนาจรัฐและคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
                              อยางไรก็ดี  ปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญายังปรากฏขึ้น
                  ตอเนื่อง เชน กรณีของ นางสาวเชอรี่แอน ดันแคน ที่เจาหนาที่รัฐไดมีการจับกุมและลงโทษผูบริสุทธิ์
                  กรณีวิสามัญฆาตกรรมหรือฆาตัดตอนบุคคลที่มีสวนเกี่ยวของกับยาเสพติด เปนตน ปญหาที่เกิดขึ้นดัง
                  ที่ไดกลาวมานี้ถือไดวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรายแรง ที่เห็นไดอยางประจักษชัดในสังคมไทย
                  และสังคมระหวางประเทศ ทวาชองทางในการรองเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยยังมีขอจำกัด
                  เชน กระบวนการใชสิทธิทางศาลยุติธรรมที่ซับซอน เสียคาใชจาย และตองใชเวลานานกวาจะไดรับ

                  ความเปนธรรม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงอาจถือไดวาเปนทางเลือกหนึ่งของประชาชน
                  ที่จะสามารถแกไข ปองกันและเยียวยาประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

                  ความหมายของสิทธิมนุษยชน
                            สิทธิ  หมายถึง สิ่งที่ไมมีรูปรางซึ่งอยูในตัวมนุษยตั้งแตเกิดหรือกฎหมายกำหนดใหมีขึ้น เปน
                              1
                  ประโยชนที่กฎหมายรับรอง คุมครองมิใหผูอื่นลวงละเมิดสิทธิได เชน สิทธิในชีวิตรางกาย สิทธิในทรัพยสิน
                  สิทธิในเคหสถาน สิทธิในเกียรติยศชื่อเสียง ความเปนอยูสวนตัว เปนตน
                                หนาที่ หมายถึง สิ่งที่กฎหมายกำหนดใหมนุษยตองปฏิบัติเพื่อประโยชนตอบุคคลอื่นหรือสวนรวม
                  ถาฝาฝนอาจเสียประโยชนหรือมีความผิดไดรับโทษ ตัวอยางเชน หนาที่ปฏิบัติตามกฎหมาย หนาที่เสีย

                  ภาษีอากร เปนตน

                  1  สมบัติ เดียวอิศเรศ "สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรม" คำบรรยายเนติบัณฑิต สมัยที่ 60
                                                                                       บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน   29
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50