Page 42 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 42

กอใหเกิดปญหาและผลกระทบจากการจางแรงงานตางดาวในเรื่องของชุมชนตางดาว โดยเฉพาะพวก
               สัญชาติพมา ซึ่งพักอาศัยรวมกันเปนจำนวนมาก ทำใหเกิดปญหาในดานตางๆ ไดแก ปญหาดาน
               สาธารณสุขผูติดตามและเด็กไรสัญชาติ  ปญหาอาชกรรมและการไมปฏิบัติตามกฎหมาย  ประกอบกับ
               ในปจจุบันไดมีการเผยแพรวัฒนธรรมประเพณีของตางดาวในเทศกาล และงานตางๆ ที่จัดขึ้น ซึ่งเปน

               การไมเหมาะสม  และไมควรใหการสนับสนุนเพราะจะทำใหเกิดความรูสึกวาเปนเจาของชุมชน  อาจเกิด
               ปญหาในดานความมั่นคงและเปนการผิดวัตถุประสงคของทางรัฐบาลที่ตองการผอนผันเพื่อใหแรงงาน
               ตางดาว เขามาทำงานเปนการชั่วคราวเทานั้น
                      ฉะนั้น จึงขอใหสถานประกอบการโรงงานทุกแหง ควบคุมดูแลแรงงานตางดาวที่อยูในความ
               รับผิดชอบ ใหประพฤติปฏิบัติตนตามระเบียบกฎหมายอยางเครงครัด หากฝาฝนจะถูกจับดำเนินคดีโดย
               เฉียบขาด และไมสนับสนุนใหมีการเผยแพรวัฒนธรรมประเพณีของคนตางดาวในเทศกาลงานตางๆ ทั้งสิ้น

               คำถาม
               จากกรณีศึกษาดังกลาว ใหทานวิเคราะหวา

               1. หนังสือสั่งการกระทบสิทธิมนุษยชนดานใดบาง
               2. หนังสือสั่งการฉบับดังกลาวชอบดวยกฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชนหรือไม  เพราะเหตุใด
               3. ทานคิดวาทางออกตอการจัดการปญหาในกรณีที่แรงงานขามชาติตองการจัดกิจกรรมเผยแพร
                   วัฒนธรรมประเพณีอยางไรบาง


               แนวทางการสรุป กรณีศึกษาที่ 1 : หนังสือสั่งการผูวาราชการจังหวัดสมุทรสาครที่ สค 0017.2/ว3634

                      1. หนังสือสั่งการกระทบสิทธิมนุษยชนดานใดบาง กรณีของคำสั่งผูวาราชการ จ.สมุทรสาครเปน
               การละเมิดสิทธิมนุษยชนตามขอ 22 (สิทธิในการสวัสดิการทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ขอ 27
               (สิทธิในการเขารวมศิลปวัฒนะธรรม)

                      2. หนังสือสั่งการฉบับดังกลาวชอบดวยกฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชนหรือไม เพราะเหตุใด
               หนังสือสั่งการฉบับดังกลาวไมชอบดวยกฎหมายเพราะขัดตอกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
               ตามมาตรา 26(บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ่นหรือชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมยอมมีสิทธิอนุรักษหรือ
               ฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น และของชาติ และมีสวนรวมใน
               การจัดการ การบำรุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรชาติ สิ่งแวดลอม รวมทั้งความหลากหลาย
               ทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน) (ที่มา: เวทีเสวนา “แรงงานขามชาติกับการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ”

               24 พฤษจิกายน 2550 คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)
                      3. ทานคิดวาทางออกตอการจัดการปญหาในกรณีที่แรงงานขามชาติตองการจัดกิจกรรมเผยแพร
               วัฒนธรรมประเพณีอยางไรบาง  แนวทางจัดการปญหากรณีแรงงานขามชาติตองการรักษาอัตลักษณไว
               คือการพิจารณางานประเพณีวัฒนธรรมดังกลาวหากไมขัดตอรัฐธรรมนูญ ไมขัดตอศีลธรรมอันดีของ
               ประชาชน และไมกอเกิดความไมสงบในชุมชน โดยการประเมินผลกระทบดังกลาวจากประชาชนในชุมชน

               และ รัฐควรจัดมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน ตามมาตรา 67 แหงรัฐธรรมนูญ


                 26     บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47