Page 44 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 44

2. อาสาสมัครที่ใหความชวยเหลือมีความผิดตามกฏหมายหรือไม อยางไร อาสาสมัคร จะมี
               ความผิดกฏหมายหรือไม ขึ้นกับสถานภาพ การรับรองขององคกรพัฒนาเอกชนทั้งนี้กรณีที่ทำดวยจิตอาสา
               และเปดเผย ถือวาไมผิด จากการชวยเหลือ อาสาสมัครควรประสานงานกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของเพื่อชวย
               ดำเนินการ แทนที่จะเขาดำเนินการเอง

                      3. กรณีนางสาวเย็นเขาขายการกระทำความผิดฐานคามนุษยหรือไม กรณีนี้เปนการกระทำตอเด็ก
               จึงถือวาเปนการคามนุษย แมจะไมใชวิธีการขมขู หลอกลวง ใชกำลังบังคับ และแมเด็กจะยินยอมก็ตาม
               นอกจากนี้ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมถึงสิบแปดป ยอมเปนการละเมิดอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ขอ 9 เด็ก
               ไมควรถูกแยกจากพอแมผูใหกำเนิด  นอกเสียจากเด็กถูกพอแมละเลยหรือทอดทิ้ง  เด็กมีสิทธิที่จะติดตอ
               กับพอหรือแมไดถาไมเปนการทำรายจิตใจเด็ก และปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขอ 4 ความเปน
               อิสระจากการเปนทาส

                      4. กรณีนี้สามารถดำเนินคดีกับตำรวจไดหรือไม กรณีนี้สามารถดำเนินคดีกับตำรวจได ซึ่งตาม
               มาตรา13 ของพรบ.ปองกันและปรามปรามการคามนุษย หากผูกระทำความผิดเปนพนักงานของรัฐตอง
               ระวางโทษเปน 2 เทาที่กำหนดไวของพรบ.นี้

               เนื้อหาสำหรับวิทยากรและผูเขารวมอบรม

               ที่มาและความหมายของสิทธิมนุษยชน
                      แนวคิดในการคุมครองสิทธิมนุษยชนไดถือกำเนิดขึ้นมาชานาน  แตชวงเวลาสำคัญคือภายหลัง
               สงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งมีการกอตั้งองคการสหประชาชาติ และไดมีมติใหประกาศใชสาสนรับรอง
               สิทธิมนุษยชนชื่อวา ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ตั้งแตป พ.ศ. 2491 และวันที่ 10 ธันวาคม
               ของทุกป ยังถือเปน "วันสิทธิมนุษยชน” ของโลกตั้งแตบัดนั้น

                      ปฏิญญาดังกลาวมีจุดมุงหมายเพื่อสรางความเทาเทียมกันในเรื่องของคุณคาและศักดิ์ศรีความ
               เปนมนุษยโดยไมเลือกปฏิบัติ อันนำไปสูความเสมอภาคในสิทธิและบริการพื้นฐานของชีวิตที่ติดตามมา
               และสงผลตอความมั่นคงของชีวิตและความมั่นคงรวมกันของมนุษย  ซึ่งเปนองคประกอบสำคัญของ
               ความมั่นคงและสันติภาพของโลก ประเทศไทยไดรวมลงมติในที่ประชุมสมัชชาทั่วไปขององคการ
               สหประชาชาติ เพื่อรับรองใหประกาศใชปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม
               พ.ศ.2491 ทั้งนี้ แมปฏิญญาสากลไมมีผลเปนสนธิสัญญาระหวางประเทศก็ตาม แตเทากับมี

               พันธะกรณีใหตองดำเนินการตามหลักกฎหมายระหวางประเทศและประกาศใชกฎหมายภายในประเทศ
               ในรูปของประมวลกฎหมายและพระราชบัญญัติที่สอดคลองกับปฏิญญาสากล
                      นอกจากนี้ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนจำนวนหลายฉบับดวยกัน
               เชน อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child) อนุสัญญาวาดวยการขจัดการ
               เลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination

               against Women) กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International
               Covenant on Civil and Political Rights) และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
               และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)


                 28     บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49