Page 48 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 48
สิทธิมนุษยชนมี 2 ระดับ ไดแก
1. สิทธิที่ติดตัวแตเกิด ไมสามารถถายโอนแกผูอื่นได อยูเหนือกฎหมายและอำนาจของรัฐ สิทธิ
เหลานี้ไดแก สิทธิในชีวิตและรางกาย ที่หามฆาหรือทำรายตอชีวิต หามการคามนุษย การทรมานอยาง
โหดราย เราทุกคนมีสิทธิในความเชื่อตอศาสนา ลัทธิตางๆ รวมถึงเสรีภาพในการออกซึ่งความคิดเห็นของตน
ฯลฯ สิ่งเหลานี้อยูในมโนสำนึกของแตละคน แมไมมีกฎหมายบัญญัติก็ถือเปนเรื่องผิดบาปตอจารีต
ประเพณีหรือศาสนา
2. สิทธิที่ตองมีการเขียนกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญหรือแนวนโยบายรับรอง ไดแก การไดรับสัญชาติ
การมีงานทำ การไดรับความคุมครองในฐานะแรงงาน ความเสมอภาคของชายหญิง สิทธิของเด็ก เยาวชน
ผูสูงอายุ ผูพิการ การไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประกันการวางงาน การไดรับบริการทางสาธารณสุข
การแสดงออกดานศิลปวัฒนธรรมประเพณี ฯลฯ
สิทธิของประชากรขามชาติในประเทศไทย
• สิทธิที่ติดตัวคนทุกคนมาแตเกิดมีอะไรบาง
ทุกคนเกิดมายอมมีสิทธิในสิทธิชีวิตรางกาย มีความมั่นคงในชีวิต โดยไมถูกบังคับใหเปนทาส
ไมถูกทรมานทารุณโดยโหดรายผิดมนุษยหรือถูกจับกุมคุมขังหรือเนรเทศโดยพลการ ทั้งมีเสรีภาพในการ
นับถือศาสนาลัทธิโดยเสรี รวมทั้งมีสิทธิในความเปนสวนตัว มีสิทธิเลือกคูครอง และตั้งครอบครัว
• สิทธิอะไรบางที่ไดรับการรับรอง (รับรองโดยรัฐธรรมนูญ กฎหมาย นโยบาย หรือมติคณะรัฐมนตรี)
แรงงานขามชาติมีสิทธิทำงานอยูในประเทศไทยตามมติคณะรัฐมนตรี และไดรับความคุมครอง
ในฐานะแรงงาน ทั้งยังมีไดรับคาตอบแทนอยางเพียงพอ นอกจากนี้ มีสิทธิไดรับบริการสุขภาพ มีสิทธิ
พักผอนและมีเวลาพักจากการทำงาน รวมทั้งมีสิทธิชุมนุมโดยสงบและรวมกลุม สวนผูติดตามที่เปนแม
และเด็กยอมไดรับการคุมครองตามมาตรฐานการครองชีพเปนพิเศษ เด็กลูกแรงงานขามชาติมีสิทธิไดรับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
32 บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน