Page 49 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 49

ภาคผนวก

                                             กฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน


                  รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

                  มาตรา 4

                         ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ยอมไดรับความคุมครอง

                  มาตรา 26
                         การใชอำนาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ

                         ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ

                  มาตรา 28
                         บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนได  เทาที่ไมละเมิดสิทธิ

                  และเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรม อันดีของประชาชนบุคคล
                  ซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว  สามารถยกบทบัญญัติ  แหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใช
                  สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได  บุคคลยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตอง

                  ปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ไดโดยตรง หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติ
                  รายละเอียดแหงการใชสิทธิ และเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวแลวใหการใชสิทธิ และเสรีภาพ

                  ในเรื่องนั้นเปนไปตามที่กฎหมาย บัญญัติ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือ
                  จากรัฐ ในการใชสิทธิ ตามความในหมวดนี้



                  สวนที่ 3 สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล

                  มาตรา 30
                         บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมาย  เทาเทียมกันชายและ

                  หญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน  การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่อง
                  ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทาง

                  เศรษฐกิจ หรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอ
                  บทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิไดมาตรการที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคล
                  สามารถใชสิทธิและ เสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื่น ยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตาม

                  วรรคสาม





                                                                                       บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน   33
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54