Page 43 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 43

ใบงานกิจกรรม 2.3 กรณีศึกษาสิทธิมนุษยชน
                  กรณีศึกษาที่ 2 : นางสาวเย็น
                          นางสาวเย็น ชาวมอญ  อายุ 16 ป เมื่อเดือนเมษายน 2550 มีนายหนาจากประเทศพมาพาเขามา

                  ทำงานในประเทศไทยเพื่อมาอยูกับอาที่กรุงเทพฯและหางานทำ แตยังไมทันหางานได ก็มีผูแจงใหตำรวจ
                  ที่กรุงเทพฯจับกุมตัวขอหาหลบหนีเขาเมือง ตำรวจคนตัวนส.เย็นจนพบหมายเลขโทรศัพทของอาและไดแจง
                  ใหอานำเงิน 2,000 บาทมาเปนคาไถ เมื่ออาทราบเรื่องก็ไมกลาเขาชวยเหลือเพราะไมมีเงินพอและกลัว
                  ตำรวจสวนนางสาวเย็นก็ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได
                         ตอมาตำรวจที่จับกุมไดสงตัวใหตำรวจที่สมุทรสงคราม เพื่อหาคนในชุมชนมอญ จ.สมุทรสงคราม
                  มาชวยเหลือไถตัว  ทางอาสาสมัครขององคกรพัฒนาเอกชนแหงหนึ่งไดรับทราบเรื่องของนส.เย็น โดย

                  องคกรพัฒนาเอกชนดังกลาวตำรวจรูจักเนื่องจากเคยเขามาขอขอมูลเกี่ยวกับแรงงานขามชาติในพื้นที่
                  ทางเจาหนาที่องคกรฯจึงตอรองกับตำรวจจนสามารถรับตัวนางสาวเย็นออกมาอยางไมมีเงื่อนไขไปฝาก
                  ใหชุมชนชาวมอญดูแลและเพื่อเปนการปองกันไมใหนางสาวเย็นถูกพาตัวไปที่อื่นอีก และไดดำเนินการ
                  ประสานกับญาติที่ประเทศพมาใหมารับตัวนส.เย็นที่ชายแดนอำเภอแมสอด จังหวัดตากโดยสวัสดิภาพ

                  คำถาม
                  จากกรณีศึกษาดังกลาว ใหทานวิเคราะหวา
                         1. นางสาวเย็นถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางไรบาง

                         2. อาสาสมัครที่ใหความชวยเหลือมีความผิดตามกฏหมายหรือไม อยางไร
                         3. กรณีนางสาวเย็นเขาขายการกระทำความผิดฐานคามนุษยหรือไม
                         4. กรณีนี้สามารถดำเนินคดีกับตำรวจไดหรือไม


                  แนวทางการสรุป กรณีศึกษาที่ 2 : นางสาวเย็น
                         1. นางสาวเย็นถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางไรบาง กรณีที่นายหนาจากประเทศพมาพาเขามา
                  ทำงานในประเทศไทย กรณีที่กลุมตำรวจนำตัวนางสาวเย็นไปเรียกคาไถจากผูอื่น โดยแสวงหาประโยชน

                  โดยมิชอบ สำหรับตนเองหรือผูอื่น ไมวาจะยินยอมหรือไมก็ตาม ถือเปนความผิดฐานคามนุษย ตามมาตรา
                  4 และมาตรา 8 แหง (ราง) พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ที่(ผูใดกระทำ
                  ตอผูอื่นโดยจัดหา ซื้อ ขาย จำหนาย พามาจากหรือสงไปยังที่ใด หนวงเหนี่ยวกักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือ
                  รับไวซึ่งบุคคลใด ดวยวิธีการขมขู ใชกำลังบังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง ใชอำนาจโดยมิชอบ หรือ
                  โดยอาศัยความออนดอยประสบการณหรือความรูของบุคคล หรือโดยการใหหรือรับเงิน  หรือผลประโยชน
                  อยางอื่น เพื่อใหไดรับความยินยอมของผูปกครองหรือผูดูแล บุคคลนั้นและโดยเจตนาเพื่อแสวงหาประโยชน

                  โดยมิชอบ สำหรับตนเองหรือผูอื่น ผูนั้นกระทำความผิดฐานคามนุษย ในกรณีที่เปนการกระทำตอเด็กให
                  ถือวาเปนการคามนุษย แมจะไมใชวิธีการขมขู หลอกลวง ใชกำลังบังคับ และแมเด็กจะยินยอมก็ตาม)
                  ซึ่งตรงกับปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขอที่ 9 ไมมีใครมีสิทธิจับเราเขาคุกโดยไมมีเหตุผลสมควร
                  คุมขังเรา หรือขับไลเราออกจากประเทศของเราได



                                                                                       บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน   27
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48