Page 46 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 46

เสรีภาพ หมายถึง ความอิสระที่จะกระทำหรือละเวนกระทำโดยไมอยูในการครอบงำของบุคคลอื่น
               หรือมีขอผูกมัดหรือเหนี่ยวรั้ง
                      สิทธิมนุษยชน หมายถึงแนวคิดเกี่ยวกับมนุษยที่วา มนุษยนั้นมีสิทธิหรือสถานะสากล ซึ่งไมขึ้น
               อยูกับขอบเขตของกฎหมาย หรือปจจัยทองถิ่นอื่นใด เชน เชื้อชาติ หรือ สัญชาติ สิทธิมนุษยชน ไดแก สิ่งจำ
               เปนในการดำรงชีวิตของมนุษย ซึ่งคนทุกคนมีสิทธิมนุษยชนโดยธรรมชาติ มีศักดิ์ศรีความเปนมนุษย  ไมสมควร
               ถูกละเมิด และตองไดรับการปฏิบัติดวยมาตรฐานเดียวกัน

               วัตถุประสงคของการคุมครองสิทธิมนุษยชน
                           จำแนกออกเปน 3 สวน ไดแก ประการแรกเพื่อมุงคุมครองสังคม ประการที่สองเพื่อมุงคุมครอง
               ปจเจกบุคคล และประการที่สามเพื่อคุมครองสังคมและปจเจกบุคคลรวมกัน เพื่อใหเกิดความสงบสุข และ
               สันติภาพขึ้นในสังคม
               กลไกคุมครองสิทธิมนุษยชน
                           นานาประเทศตางมีโครงสรางแนวทางการคุมครองสิทธิมนุษยชน ในรูปของการการกำหนดองคกร

               หรือกฎหมายแมบท ไดแก คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินรัฐสภา (Ombudsman)
               สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน มีอะไรบาง

                      ปฏิญญาสากลวาดวยเรื่อง สิทธิมนุษยชน ไดแก
                      ขอ 1  มนุษยทุกคนมีศักดิ์ศรี อิสระเสรี และเทาเทียม
                      ขอ 2  สิทธิที่จะไมถูกเลือกปฏิบัติเพราะเชื้อชาติ ผิว เพศ ศาสนา ภาษา และอื่นๆ
                      ขอ 3  สิทธิในชีวิตรางกายและเสรีภาพ
                      ขอ 4  ความเปนอิสระจากการเปนทาส
                      ขอ 5  ความเปนอิสระจากการทรมาน การลงโทษ และการปฏิบัติที่ไมเหมาะควร
                      ขอ 6  สิทธิที่จะเปนบุคคลตามกฎหมาย
                      ขอ 7  สิทธิที่จะไดรับความคุมครองจากกฎหมายอยางเสมอภาคกัน
                      ขอ 8  สิทธิที่จะไดรับการเยียวยาทางศาลจากการถูกละเมิดสิทธิ
                      ขอ 9  ความเปนอิสระจากการถูกจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
                      ขอ 10  สิทธิที่จะไดรับความเปนธรรมจากการพิจารณาคดี
                      ขอ 11  สิทธิในคดีอาญาที่ไดรับการสันนิษฐานไวกอนวาเปนผูบริสุทธิ์จนกวาจะพิสูจนวาเปนผู
                                 กระทำผิดจริง
                      ขอ 12  สิทธิที่จะไมถูกแทรกแซงในความเปนสวนตัว ครอบครัว เคหะสถาน เกียรติยศ ชื่อเสียง
                      ขอ 13  สิทธิที่เดินทาง ยายที่อยู หรือออกนอกประเทศ
                      ขอ 14  สิทธิที่จะขอลี้ภัยในประเทศอื่น
                      ขอ 15  สิทธิในการถือสัญชาติ
                      ขอ 16  สิทธิในการสมรสและสรางครอบครัว

                      ขอ 17  สิทธิที่จะมีทรัพยสิน
                      ขอ 18  สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา
                      ขอ 19  สิทธิเสรีภาพในความคิดเห็น การแสดงออก และการรับหรือเผยแพรขอมูลขาวสาร

                 30     บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51