Page 47 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 47

ขอ 20  สิทธิในการชุมนุมอยางสงบ
                  ขอ 21  สิทธิในการเลือกตั้งและไดรับบริการสาธารณะ

                  ขอ 22  สิทธิในสวัสดิการทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
                  ขอ 23  สิทธิในการทำงานรวมในสหภาพแรงงาน
                  ขอ 24  สิทธิในการพักผอนและมีวันหยุด

                  ขอ 25  สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ มารดาและเด็กจะตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ
                  ขอ 26  สิทธิในการศึกษา ตองมีการศึกษาแบบใหเปลาในการศึกษาภาคบังคับ

                  ขอ 27  สิทธิในการเขารวมศิลปวัฒนธรรม
                  ขอ 28  สิทธิที่จะไดรับประโยชนจากระเบียบของสังคม
                  ขอ 29  บุคคลยอมมีหนาที่ตอชุมชน สิทธิเสรีภาพจะถูกจำกัดไดดวยกฎหมายเทานั้น

                  ขอ 30  หามตีความปฏิญญาไปในทางลิดรอนเสรีภาพของบุคคล

                  ปฏิญญาโดยสรุปทั้ง 30 ขอ สามารถจำแนกไดดังนี้

                  สวนที่หนึ่ง
                         • ขอที่ 1 และ 2  วาดวยมนุษยมีสิทธิติดตัวมาแตเกิด มีศักดิ์ศรีและมีความเสมอภาคกัน จึงตอง
                  หามเลือกปฏิบัติตอกันและควรปฏิบัติตอกันฉันทพี่นอง  สิทธิมนุษยชนเหลานี้ไมสามารถโอนใหแกกันได
                  รัฐจึงมีหนาที่สรางหลักประกันแกทุกชีวิตภายใตการเคารพหลักการสิทธิเสรีภาพตามปฏิญญาฉบับนี้เพื่อ

                  ความมุงหมายใหสิทธิมนุษยชนเกิดเปนมาตรฐานรวมกันสำหรับปฏิบัติตอผูคนในสังคม
                  สวนที่สอง

                         • สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ขอ 3 ถึง 21) สิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                  ประกอบดวย สิทธิในชีวิต เสรีภาพความมั่นคงในชีวิต สิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิในความเปนสวนตัว
                  เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออกเสรีภาพสื่อมวลชน เสรีภาพในการชุมนุม การรวมกลุม
                  และสิทธิในการมีสวนรวมทางการเมือง

                  สวนที่สาม
                         • สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ขอ 22 ถึง27) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

                  ไดแก สิทธิในการเขาถึงทรัพยากรของรัฐ และไดรับผลทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่จำเปนตอ
                  การพัฒนาตนเอง สิทธิในการศึกษา สิทธิดานแรงงาน การคุมครองแมและเด็ก สิทธิในการไดรับความคุม-
                  ครองทางศิลปวัฒนธรรม ลิขสิทธิและสิทธิบัตร

                  สวนที่สี่
                         • กลาวถึงหนาที่ของบุคคล สังคมและรัฐ โดยรัฐมีหนาที่สรางหลักประกันการคุมครองสิทธิที่ปรากฏ
                  ตามสิทธิในปฏิญญาฉบับนี้อยางจริงจัง หามรัฐกระทำการอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนและจำกัด

                  สิทธิมนุษยชนของผูอื่น

                                                                                       บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน   31
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52