Page 40 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 40

กระบวนการ
                      1. ผูดำเนินการใหนิยามความหมายของแรงงานขามชาติตามหลักสูตร และใหความรูตามประเด็น
                          ดังตอไปนี้ (60 นาที)

                              - หลักการของสิทธิมนุษยชน
                              - อนุสัญญา และกติการะหวางประเทศ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน
                              - กฎหมาย พระราชบัญญัติ และนโยบาย ของรัฐไทย ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน
                      (ทั้งนี้ผูดำเนินการอาจเชิญวิทยากรผูเชี่วยชาญ ที่มีความรูเรื่องสิทธิมนุษยชน เชน ผูแทนจาก
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ หรือสภาทนายความ มาใหความรูที่ถูกตอง)
                      2. จากนั้นผูดำเนินการแนะนำวัตถุประสงคกิจกรรม 2.2

                      3. ใหผูเขารวมอบรมแบงกลุม ๆ ละ 5-6 คน (3 กลุม)
                      4. แจกบัตรคำใหแตละกลุม ๆ ละ 2 ชุด  (บัตรคำตามปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และ
                          บัตรคำตามสิทธิมนุษยชนในรัฐธรรมนูญ)
                      5. ใหแตละกลุมชวยกันจับคูบัตรคำทั้งสองประเภทเปนหมวดหมูเดียวกัน (15 นาที)
                      6. ใหตัวแทนกลุมนำเสนอการจับคู  โดยอานขอความทีละขอ  และสรุปถึงประเภทของสิทธิ

                      7. ผูดำเนินการสรุปประเภทของสิทธิ และหลักการสำคัญของสิทธิมนุษยชนมี 3 ประการคือ
                              • หลัก “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” หมายถึง การใหคุณคากับมนุษยทุกคนที่ความเปน
                         มนุษยเทานั้น ไมไดขึ้นอยูกับสถานภาพทางสังคม หรือฐานะเศรษฐกิจ ดังนั้น มนุษยทุกคน
                         จึงมีคุณคาและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเหมือนกัน เทาเทียมกันทุกคน การกระทำหรือการปฏิบัติ
                         ใดที่ไปเหยียดหยาม ลดทอน หรือทำใหคุณคาของความเปนมนุษยลดลง ยอมขัดกับหลักการนี้
                              • หลัก “ความเสมอภาคเทาเทียม” หมายถึง ตองปฏิบัติตอคนทุกคนเทาเทียมกันไมแบง

                          แยกและไมเลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรมเพราะเหตุแหงความแตกตางใดๆ เชน เพศ สีผิว อายุ
                        เชื้อชาติศาสนา วัฒนธรรม สถานภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะทางสังคม หรือ เศรษฐกิจ
                          ความคิดเห็น ทางการเมือง เปนตน การกระทำหรือการปฏิบัติใดที่เปนการแบงแยก กีดกัน หรือ
                          จำกัดเพื่อไมให บุคคลไดรับสิทธิหรือใชสิทธิอันพึงมี พึงไดรับในฐานะมนุษย ยอมขัดกับหลักการนี้

                         เขาขายเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                              • หลักการปฏิบัติตอกันฉันทพี่นอง หรือ “สันติวิธี” หมายถึงการไมใชความรุนแรงในการ
                         จัดการปญหา ดังนั้น กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย หรือการปฏิบัติใดๆ ที่ขัดแยงกับหลัก
                         การทั้ง สามประการดังกลาวขางตน ถือวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

               กิจกรรม 2.3 กรณีศึกษาสิทธิมนุษยชน

               วัตถุประสงค
                      1. เพื่อแลกเปลี่ยนและวิเคราะหกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงกับแรงงานขามชาติในสังคมไทย
                      2. เพื่อใหผูเขารวมอบรมไดทบทวนกฎระเบียบ นโยบายตลอดจนขอจำกัดตางๆ ที่ทำใหแรงงาน
                          ขามชาติ เขาไมถึงการคุมครองสิทธิมนุษยชน


                 24     บทที่ 2 สิทธิมนุษยชน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45