Page 135 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 135

ทนายความ เปนผูใหคำปรึกษาทางกฎหมายแกผูเสียหายและดำเนินคดีแทนผูเสียหาย

                         พนักงานอัยการ เจาพนักงานซึ่งมีหนาที่ฟองผูตองหาตอศาล

                         ลาม เปนผูสื่อสารภาษาของผูเสียหายใหเปนภาษาไทยหรือจากภาษาไทยใหเปนภาษาของ
                  ผูเสียหาย เชน การแจงความรองทุกข การสอบปากคำ ผูเสียหาย พยานเด็กและรวมในการชี้ตัวผูตองหา
                         พยาน  เปนผูที่ทราบหรือเห็นเหตุการณในการกระทำความผิดและบางครั้งพยานอาจใหหรือ
                  ชี้เบาะแสแกเจาหนาที่ตำรวจถึงผูกระทำผิด

                         เจาหนาที่ชวยเหลือ  เปนบุคคลผูใหการชวยเหลือในการนำผูเสียหายไปแจงความรองทุกข
                  การสอบปากคำของเจาหนาที่ตำรวจ การชี้ตัวผูตองหา การประสานงานกับตำรวจหรือบุคคลที่เกี่ยวของ

                         นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห เปนผูมีบทบาทในการชวยเหลือผูเสียหายเด็ก พยานเด็ก
                  ไมใหตื่นตัวในการใหปากคำตอตำรวจ

                  การแจงความรองทุกข
                         การแจงความรองทุกข หมายถึง กรณีที่ผูเสียหายแจงความรองทุกขตอเจาหนาที่ตำรวจหรือ

                  เจาพนักงานปกครองวามีการกระทำผิดเกิดขึ้นไมวาจะรูตัวผูกระทำความผิดหรือไม ทั้งนี้ ในการแจงความ
                  รองทุกข  ผูเสียหายตองมีเจตนาที่จะนำผูกระทำผิดมารับโทษ  หากเพียงใหพนักงานสอบสวนลงบันทึก
                  ประจำวันเพื่อปองกันคดีขาดอายุความ หรือเพื่อเปนหลักฐาน โดยผูแจงไมมีเจตนาใหผูกระทำผิดไดรับ
                  โทษ ยอมไมถือเปนคำรองทุกข
                         คำรองทุกข  ตามกฎหมายตองประกอบดวยชื่อและที่อยูของผูรองทุกข  ลักษณะแหงความผิด

                                                                                                 1
                  พฤติการณแหงความผิด ความเสียหายที่ไดรับ ตลอดจนชื่อและรูปพรรณของผูกระทำผิด หลังจาก
                  แจงความ ณ สถานีตำรวจในทองที่เกิดเหตุ ควรขอชื่อและหมายเลขโทรศัพทติดตอของพนักงานสอบสวน
                  (รอยเวร) ไวดวยเพื่อสะดวกในการติดตอภายหลัง

                  เอกสารที่ผูเสียหายควรเตรียมไปแจงความรองทุกข ไดแก
                         • บัตรอนุญาตใหทำงานหรือบัตรที่อนุญาตใหอยูในประเทศไทยชั่วคราว
                         • บัตรประจำตัวตางๆของผูเสียหายที่ยังไมไดรับสัญชาติไทย หรือแบบสำรวจทางทะเบียน เชน ทร.38/1

                         •   หนังสือเดินทาง (ถามี)
                         •   ใบรับรองการเกิด หรือสูติบัตร ทะเบียนสมรสกรณีพอแมไปแจงความรองทุกข
                  วิธีการแจงความรองทุกข

                         สามารถทำไดทั้งการรองทุกขดวยวาจาหรือทำเปนหนังสือ ซึ่งเจาหนาที่ตำรวจจะจดบันทึก
                  พรอมลงวันที่และลงลายมือชื่อผูจดบันทึกและผูรองทุกขไวดวย
                  บุคคลที่สามารถรองทุกข ไดแก

                         •   ผูเสียหาย
                         •   พอแมหรือบุคคลใกลชิด

                  1  สมพร  พรหมหิตาธร, “คูมือพนักงานสอบสวน”  มกราคม 2538
                                                                   บทที่ 5 สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานขามชาติ  119
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140