Page 131 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 131

เนื้อหาสำหรับวิทยากรและผูเขารวมอบรม

                  กระบวนการยุติธรรมคืออะไร
                         "กระบวนการยุติธรรม" หมายถึง หนวยงานและองคกรที่เกี่ยวของกับความยุติธรรมทั้งหมด ตั้งแต
                  ตนทางคือบุคคลผูกระทำและถูกกระทำ(ผูเสียหาย) ถึงพนักงานสอบสวน (ตำรวจ) อัยการ ทนายความ
                  ศาล และราชทัณฑ สำหรับเด็กและเยาวชน กระบวนการจะยุติหรือเริ่มตนที่สถานพินิจ และคุมครองเด็ก
                  และเยาวชนซึ่งในที่นี้จะเนนไปที่กระบวนการยุติธรรมทางอาญามากกวากระบวนการยุติธรรมทางแพง

                  ที่เปนเรื่องการเรียกคาสินไหมทดแทน
                         แรงงานขามชาติที่อาศัยอยูในประเทศไทยชั่วคราว เมื่อตกเปนผูเสียหายมักไมกลาใชสิทธิเรียกรอง
                  ตามกฎหมาย  เนื่องจากไมเขาใจหรือไมทราบสิทธิของตนเอง  อาทิเชน  กรณีประสบภัยจากรถจนไดรับ
                  บาดเจ็บหรือเสียชีวิต ซึ่งตามกฎหมายคุมครองทุกคนที่ประสบภัยจากรถไมวาจะเปนใคร อยูในหรือนอกรถ
                  หรือบางรายถูกประทุษรายหรือฆาตกรรม แตผูเสียหายหรือทายาทกลับไมไดรับความชวยเหลือแตอยางใด
                  โดยเฉพาะแรงงานขามชาติที่ไมมีใบอนุญาตทำงาน  (หลบหนีเขาเมือง)  เมื่อเปนผูเสียหาย  เจาหนาที่รัฐ
                  บางแหงก็ปฏิเสธการดำเนินการชวยเหลือตามกระบวนการยุติธรรม เพราะเห็นวาแรงงานรายนั้นมีสถานะ
                  เปนเพียงผูหลบหนีเขาเมืองหรือกฎหมายไทยไมคุมครองแตอยางใด ซึ่งถือเปนความเขาใจคลาดเคลื่อน
                  อยางมาก ทั้งยังขัดตอหลักนิติรัฐที่ทุกคนตองอยูภายใตกฎหมายเสมอกัน


                  กระบวนการดำเนินคดี
                  เมื่อมีผูเสียหายขอรับความชวยเหลือ เจาหนาที่ควรปฏิบัติ ดังนี้
                         • สรางความสัมพันธกับผูเสียหาย ทำตัวเปนมิตรเพื่อใหผูเสียหายไววางใจ
                         • ขอใหผูเสียหายพยายามเลาเหตุการณที่เกิดขึ้นตามลำดับ

                         • จดบันทึกรายละเอียดเหตุการณใหมากที่สุด อาทิเชน สภาพรางกาย สภาวะอารมณ รวมถึง
                            ชื่อ อายุ เพศ สถานภาพทางกฎหมายในการอยูอาศัยในประเทศไทย (การบันทึกขอเท็จจริง)
                         • สอบถามวัตถุประสงคหรือความตองการใหชวยเหลือของผูเสียหาย
                         • แนะนำแนวทางการชวยเหลือใหผูเสียหายทราบ เชน การไปตรวจรางกาย การแจงความรองทุกข
                            หรือแนวทางอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

                  ความสำคัญของการบันทึกขอเท็จจริง
                                การบันทึกขอเท็จจริงเปนสิ่งสำคัญอยางยิ่ง เพราะชวยในการรวบรวมขอมูล วิเคราะหปญหาของ
                  ผูเสียหายในเบื้องตน และสะดวกในการเรียกและตรวจสอบขอมูลภายหลัง พนักงานเจาหนาที่สามารถ

                  นำไปใชเปนขอมูลเบื้องตนตลอดจนการประเมินสถานการณทิศทางการดำเนินคดีในอนาคตตอไป ทั้งนี้
                  แตละองคกรที่ดำเนินการรับเรื่องรองทุกขควรมีแบบบันทึกขอเท็จจริงที่เปนมาตรฐานเพื่อรวบรวมขอมูล
                  ใหมากที่สุด ทั้งรายละเอียดเหตุการณเชน วัน เวลา สถานที่ พยานในที่เกิดเหตุ รวมถึงพยาน เอกสาร เชน
                  ทร.38/1 บัตรประจำตัวบุคคลผูไมมีสถานะทางทะเบียนหรือบัตรอนุญาตทำงานที่ปรากฏชื่อ ที่อยู ซึ่งจะเปน
                  ประโยชนตอการตรวจสอบขอมูล หรือกรณีปญหาคาจาง ควรมีเอกสารการจายเงิน (slip) เพื่อประกอบการดำเนินคดี
                  ซึ่งแรงงานเองควรถายสำเนาเก็บไวในกรณีจำเปนหรือตองการใช และปองกันการสูญหายหรือเสียหาย



                                                                   บทที่ 5 สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานขามชาติ  115
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136