Page 132 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 132

กรณีไมแนใจอายุของผูเสียหาย

                      กรณีไมทราบอายุแนชัด หรือในทะเบียนไมไดระบุวันที่ชัดเจนสามารถตรวจสอบอายุของ
               ผูเสียหายเบื้องตน โดยการสอบถามจากบิดามารดาหรือญาติของผูเสียหาย กรณีไมแนใจ ไมควรระบุ
               อายุเลย เพราะผูเสียหายอาจตองเขารับการตรวจอายุที่แทจริงตอไป (โดยตรวจทันตกรรมหรือตรวจกระดูก
               โดยฉายรังสี)

               การเคลื่อนยายสิ่งของในที่เกิดเหตุ ไดหรือไม
                      กรณีแรงงานถูกทำรายรางกายจนบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ตองระมัดระวังมิใหผูอื่นที่ไมเกี่ยวของ
               เขาไปแตะตองหรือเคลื่อนยายสิ่งของตางๆในที่เกิดเหตุ จนกวาเจาพนักงานตำรวจจะเขาไปถึงที่เกิดเหตุ
               เพราะอาจทำใหหลักฐานเปลี่ยนแปลงได ยกเวนในกรณีพบ มีด ไม กระสุนปน ของมีคม หรืออาวุธที่คนราย
               ทิ้งไวในสถานที่เกิดเหตุ  ตลอดจนพยานหลักฐานตางๆ  เชน  เสื้อผาของผูถูกขมขืน  ซึ่งมีคราบอสุจิ  หรือ
               รอยเปอน เสนผม เสนขน (กรณีขมขืน) ที่ตกอยูในที่เกิดเหตุ ใหนำมามอบแกเจาหนาที่ตำรวจ เนื่องจาก
               หากปลอยทิ้งไวจะสูญหายหรือเสียหาย สวนกรณีไมไดเขาไปยังที่เกิดเหตุตั้งแตแรก และตองการเขาไป

               ในพื้นที่เพื่อเก็บขอมูลที่เกิดเหตุหรือสัมภาษณพยาน  ควรประสานงานกับคนในพื้นที่หรือแรงงานที่พาไป
               เพื่อแจงลวงหนาปองกันคนในพื้นที่ตื่นตกใจ

               ลามแปลภาษา
                      การสัมภาษณขอเท็จจริงที่ตองอาศัยลามเปนผูแปล จำเปนตองใชลามที่มีประสบการณเพื่อให
               สื่อสารอยางถูกตองครบถวน หากพบแรงงานที่สามารถสื่อสารภาษาไทยไดดี เมื่อสัมภาษณจบควรสรุป
               ขอมูลใหตรงกัน บางกรณีแบบบันทึกขอเท็จจริง สามารถจัดทำโดยแปลเปนสองภาษาใหแรงงานกรอก
               ขอมูลดวยตนเองก็ได ทั้งนี้หากเปนไปไดควรมีระบบการเก็บรักษาขอมูลของแรงงานเปนความลับ เชน
               การใชรหัสแทนชื่อบุคคล เปนตน และสุดทายควรใหแรงงานลงชื่อรับทราบความถูกตองของขอมูลการไป

               ตรวจรางกายของผูเสียหาย
                      • เมื่อผูเสียหายถูกขมขืนกระทำชำเรา ไมวามีบาดแผลหรือไม ผูเสียหายควรไปตรวจรางกาย
                         ใหเร็วที่สุด เพื่อปองกันการตั้งครรภและการติดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ (เนื่องจากเชื้ออสุจิ
                         จะมีชีวิตอยูไมเกิน 48-72 ชั่วโมง) และแพทยสามารถจายยาปองกันการตั้งครรภหรือยาปองกัน
                         โรคติดตอทางเพศสัมพันธ

                      • เมื่อผูเสียหายถูกทำรายรางกาย ผูเสียหายตองไปตรวจรางกายและรักษาบาดแผล เพื่อตรวจ
                         หาหลักฐานในการถูกทำราย เชน  รอยเล็บ รอยฟกช้ำ เนื้อเยื่อ เปนตน
                      • กรณีไมตองการแจงความรองทุกข ยังมีความจำเปนตองตรวจรางกายเพื่อใหแพทยตรวจรักษา
                         บาดแผลหรือปองกันการตั้งครรภและปองกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธอื่นๆ
                      • สวนกรณีตองการแจงความรองทุกข เจาหนาที่มีหนาที่ตองสงตัวผูเสียหายไปตรวจรักษาบาดแผล
                         และหารองรอยหลักฐานจากการถูกขมขืนกระทำชำเราหรือทำอนาจารยังโรงพยาบาลใกลเคียง
                         ทั้งนี้ ผูเสียหายตองนำเอกสารประจำตัวไปตรวจรางกายดวย
                      • องคกรใหความชวยเหลือหรือผูเสียหายสามารถทำหนังสือขออนุเคราะหคารักษาพยาบาลตอ
                         โรงพยาบาลกอนตรวจรางกาย ณ แผนกสังคมสงเคราะหของโรงพยาบาลนั้น


                116     บทที่ 5 สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานขามชาติ
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137