Page 70 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 70

คําตอบชี้แจง
                         กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ไดจัดการประชุมหารือ เพื่อรับฟงความเห็นจาก

              ฝาย นายจาง ลูกจาง และภาครัฐ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2549 ซึ่งผูเขาประชุมทุกฝาย มีความเห็น
              สอดคลองกันวาควรมีการจัดตั้งสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และภาพแวดลอมใน

              การทํางาน เปนองคกรอิสระดานความปลอดภัยฯ เพื่อความคลองตัวในการบริหารจัดการ และดูแล

              ความปลอดภัยแกผูใชแรงงานไดอยางทั่วถึง แตยังมีความเห็นแตกตางกันในบางประเด็น เชน
              งบประมาณขอบเขตอํานาจหนาที่ การบริหารจัดการองคกร และการนํากองทุนเงินทดแทนมาอยูใน

              สถาบัน โดยกรมฯจะนําเสนอราง พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ ใหกระทรวงแรงงานพิจารณา เพื่อนําเขา
              สูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีตอไป


                     ขอ 4  ขอเสนอดานการประกันสังคม

                            1)  ควรใหสํานักงานประกันสังคมเปนองคกรอิสระ ผูประกันตนมีสวนรวมใน
              การบริหารจัดการ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และตอบสนองแกผูประกันตน

                            หนวยงานรับผิดชอบ : สํานักงานประกันสังคม
                         คําตอบชี้แจง

                            สํานักงานประกันสังคมไดดําเนินการจัดจางสถาบันวิจัย และใหคําปรึกษาแหง
              มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรทําการศึกษาวิจัยการจัดตั้งสํานักงานประกันสังคมเปนองคการมหาชน ซึ่ง

              สามารถดําเนินการจัดตั้งได 2 ลักษณะ คือ (1)  จัดตั้งพ.ร.บ. องคการมหาชน พ.ศ. 2542 โดยออกเปน
              พระราชกฤษฎีกา (2)  จัดตั้งโดยการตรา พ.ร.บ. จัดตั้งเปนการเฉพาะ แตในขณะที่ยังไมมีความ

              ชัดเจนเกี่ยวกับทิศทางที่จะใหสํานักงานประกันสังคมออกเปนองคการมหาชนหรือไม และภายใต

              ขอจํากัดของระบบราชการทําใหเกิดปญหาอุปสรรคในการบริหาร และการปฏิบัติภารกิจดานการ
              ลงทุน สํานักงานฯจึงไดดําเนินการจัดจางสถาบันวิจัยฯ ทําการศึกษาวิจัยปรับโครงสราง และระบบ

              บริหารของสํานักบริหารการลงทุน ซึ่งรูปแบบที่สามารถดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จไดโดยเร็ว คือ
              การจัดตั้งสํานักบริหารการลงทุนเปนหนวยงานอิสระ “หนวยบริการรูปแบบพิเศษ” (Service

              Delivery Unit : SDU)
                         2)    กองทุนที่เกี่ยวของกับลูกจางมีกองทุนประกันสังคม 3.4 แสนลานบาท และ

              กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 3.2 แสนลานบาท หากนํากองทุนมารวมกันจะทําใหลูกจางประมาณ 8 ลาน
              คนสามารถดูแลบริหารจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของตนเองไดมากขึ้น

                         หนวยงานรับผิดชอบ : สํานักงานประกันสังคม





                                                                                          67
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75