Page 68 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 68

พิเศษ หรือเกิดผลกระทบกับลูกจางจํานวนมาก ความผิดเกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก ความผิดเกี่ยวกับ
              ความปลอดภัย เปนตน โดยกรมฯจะรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริง และปญหาอุปสรรคในการดําเนินคดี

              เพื่อใชประกอบการแกไขกฎหมายในสวนที่เกี่ยวของตอไป
                            9)  ปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติคุมครองแรงงานพ.ศ. 2541 และพระราชบัญญัติ

              แรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 ใหลูกจางที่ทํางานในขบวนการผลิตเดียวกันมีความเสมอภาคกันในเรื่อง

              สภาพการจาง
                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

                         คําตอบชี้แจง
                            กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ไดดําเนินการแกไข พ.ร.บ. ทั้ง 2 ฉบับ และมี

              ความคืบหนา คือราง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... อยูระหวางรอผลการตรวจ
              พิจารณาของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สวนราง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. .... ขณะนี้อยู

              ระหวางการพิจารณาทบทวนของคณะทํางานที่กรมฯแตงตั้ง
                            10) ปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และพระราช

              บัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 เพื่อคุมครองลูกจางหญิงมีครรภใหชัดเจน และครอบคลุม เชน ใหมี
              มาตรการคุมครองการเลิกจางหญิงมีครรภ ใหนายจางตองขออนุญาตศาลแรงงานเสียกอน

                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน และสํานักงาน
              ประกันสังคม

                         คําตอบชี้แจง
                            -  ตามพ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 43 “หามมิใหนายจางเลิกจาง

              ลูกจาง ซึ่งเปนหญิง เพราะเหตุมีครรภ” และบทลงโทษตามมาตรา 144 เปนบทบัญญัติที่สอดคลอง

              กับอนุสัญญาฉบับที่ 103 การคุมครองสตรีมีครรภ (ฉบับแกไข) พ.ศ. 2495 ที่กําหนดวาระหวางที่
              ลูกจางหญิงลาคลอด นายจางจะยื่นหนังสือแจงการใหออกจากงานไมได เปนบทบัญญัติเพื่อคุมครอง

              ลูกจางหญิงมีครรภตามขอเสนอแลว ซึ่งกรมฯจะดําเนินการตรวจสอบมาตรฐานแรงงานระหวาง
              ประเทศขององคการแรงงานระหวางประเทศเกี่ยวกับการคุมครองลูกจางหญิงมีครรภเพื่อนํามา

              ประกอบการแกไขกฎหมายตอไป
                            -  ตามพ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตรา 65 66 67 68 ไดกําหนดใหความ

              คุมครองผูประกันตนที่เปนหญิงมีครรภไวอยางชัดเจน โดยจะไดรับสิทธิประโยชนกรณีคลอดบุตร
              ในอัตราเหมาจายคาคลอดบุตร 12,000 บาท/ครั้ง และไดรับเงินสงเคราะหหลังการหยุดงานเพื่อ

              คลอดบุตรรอยละ 50 ของคาจางเฉลี่ยเปนเวลา 90 วัน โดยไมดูวาผูประกันตนจะหยุดงานหรือไม
              หยุดงานก็ตาม





                                                                                          65
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73