Page 73 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 73

ใหมีการปรับอัตราคาจางขั้นต่ําเทากันทุกจังหวัด ยอมไมตอบสนองตอสภาพเศรษฐกิจและสังคมแต
              ละจังหวัด รวมทั้งไมสอดคลองกับนโยบายการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปสูทองถิ่นดวย


                     ขอ 6 ขอเสนอปรับปรุงระบบเลือกตั้งของคณะกรรมการไตรภาคี

                            ปรับปรุงระบบการเลือกตั้งของไตรภาคีที่ใหสหภาพแรงงาน 1 แหง มีคะแนน

              เสียง 1 เสียง โดยไมคํานึงถึงจํานวนสมาชิกสหภาพแรงงาน เพื่อใหลูกจางทุกคนมีสิทธิในการลง
              สมัครรับเลือกตั้ง และใชสิทธิเลือกตั้งผูแทนในคณะกรรมการไตรภาคี

                            หนวยงานรับผิดชอบ  :  กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน สํานักงาน
              ประกันสังคม และกลุมงานเลขานุการสภาที่ปรึกษาแรงงาน สํานักงานปลัดกระทรวง

                         คําตอบชี้แจง
                            1)  การเลือกตั้งของไตรภาคีดําเนินงานภายใตระเบียบกระทรวงแรงงานวาดวย

              หลักเกณฑและวิธีการเลือกตั้งกรรมการผูแทนฝายนายจาง และกรรมการผูแทนฝายลูกจางในสภาที่
              ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแหงชาติ พ.ศ.2536 และระเบียบกระทรวงแรงงานวาดวยหลักเกณฑและ

              วิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจาง และฝายลูกจางในคณะกรรมการตาม พ.ร.บ.คุมครอง
              แรงงาน พ.ศ. 2541 การใหลูกจางทุกคนมีสิทธิในการลงสมัครรับเลือกตั้ง และใชสิทธิเลือกตั้งผูแทน

              ดังกลาว เปนหลักการที่ดีแตตองสามารถตรวจสอบคุณสมบัติใหถูกตอง โปรงใสและยุติธรรมดวย
                            2)  กระบวนการสรรหาคณะกรรมการประกันสังคมของสํานักงานประกันสังคม

              อยูในขั้นตอนการแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับประเด็นดังกลาว โดยเพิ่มถอยคํา “หลักเกณฑและ
              วิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจางตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามระเบียบ

              ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด”  เพื่อใหกระบวนการสรรหา มีวิธีการที่ชัดเจนกําหนดไวในกฎหมาย

              และเกิดความโปรงใสในการดําเนินการ
                            3)  กลุมงานเลขานุการฯ เห็นควรปรับปรุงแกไขระเบียบวาดวยหลักเกณฑและ

              วิธีการเลือกตั้ง เพื่อใหไดกรรมการที่มีความรูความสามารถและประสบการณมากพอที่จะเปน
              ประโยชนตอการกําหนดนโยบายและการดําเนินงาน โดยระบุคุณสมบัติของผูสมัครแตละชุดให

              ชัดเจน ซึ่งสํานักนโยบายและยุทธศาสตรจะนําเรื่องคุณสมบัติกรรมการไตรภาคีชุดตางๆ เสนอ
              คณะกรรมการสภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแหงชาติ ชุดที่ 14 (ขณะนี้อยูระหวางการสรรหา)

              พิจารณาใหความเห็นตอไป


                     ขอ 7  ขอเสนอดานสิทธิแรงงานขามชาติ
                            1)  รัฐตองคุมครองสิทธิพื้นฐานของแรงงานขามชาติเทาเทียมกับแรงงานไทย

                         หนวยงานรับผิดชอบ :  กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน



              70
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78