Page 65 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 65

สรุปคําตอบชี้แจง


                ขอเสนอตอการปฏิรูปนโยบายการบริหารแรงงานและกระบวนการยุติธรรมเพื่อแรงงาน


                                           XYZW XYZW

              1.  ขอเสนอตอการปฏิรูปนโยบายบริหารแรงงาน และกระบวนการยุติธรรมเพื่อแรงงาน


                     ขอ  1    ขอเสนอดานการคุมครองแรงงาน
                            1)  กระทรวงแรงงานตองพยายามสงเสริม และประชาสัมพันธใหนายจาง และ

              ลูกจางเขาใจสิทธิของตน และบังคับใชกฎหมายแรงงานอยางมีประสิทธิภาพโดยไมเลือกปฏิบัติ
                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

                         คําตอบชี้แจง
                            กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีภารกิจดานคุมครองแรงงาน เพื่อใหแรงงาน

              มีความมั่นคงในการทํางาน มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยยึดหลักความเสมอภาค และไมเลือกปฏิบัติ หาก
              เปนลูกจางตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แลวยอมไดรับการคุมครองตามกฎหมายอยาง

              เสมอภาคนอกจากนี้ กรมฯมีการตรวจแรงงานในสถานประกอบการ และสงเสริมความรูความเขาใจ
              เกี่ยวกับกฎหมายคุมครองแรงงาน โดยจัดทําแผนพับสิทธิหนาที่ และจัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับ

              กฎหมายคุมครองแรงงานแกนายจาง และลูกจาง เชน ครูแนะแนว เจาหนาที่ภาคเอกชน และจัดรถ

              บริการเคลื่อนที่เพื่อเผยแพรความรูใหแกชุมชนตางๆ
                            2)  การจางเหมาชวง มีความจําเปนสําหรับการแขงขันในตลาดโลก โดยตองมี
              การสรางกลไกคุมครองสิทธิแรงงานในระบบรับเหมาชวงอยางชัดเจน ดูแลตั้งแตการรับสมัครงาน

              คาประกัน การสรางหลักประกันเมื่อถูกเลิกจาง

                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
                         คําตอบชี้แจง

                            กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดดําเนินการใหการคุมครองแรงงานรับเหมา
              ชวงเหมือนกับแรงงานอื่นๆ โดยกํากับดูแลใหนายจางปฏิบัติตาม พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541

              และใหลูกจางไดรับสิทธิขั้นพื้นฐานตามกฎหมายที่กําหนด ทั้งนี้ในสวนของการคุมครองตั้งแตการ
              รับสมัครงานคาประกัน การสรางหลักประกันเมื่อถูกเลิกจางขึ้นอยูกับการดําเนินการของนายจางแต

              ตองอยูภายใตพ.ร.บ.คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541
                            3)  ยกเลิกการจางเหมาคาแรง โดยแกไขพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.

              2541 และปรับปรุงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ. 2518 ใหสอดคลองกัน เพื่อใหลูกจาง






              62
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70