Page 66 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 66

รับเหมาคาแรงไดรับสิทธิการรวมตัว การเจรจาตอรอง ตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ พ.ศ.
              2518 โดยไดรับสิทธิเทาเทียมกับลูกจางของสถานประกอบการ

                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
                         คําตอบชี้แจง

                            รมสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดแกไขปรับปรุง พ.ร.บ. คุมครองแรงงาน

              พ.ศ. 2541 โดยยกรางแกไขมาตรา 5(3) เปนรางมาตรา 11/1 เพื่อใหผูประกอบกิจการที่ไดวาจางดวย
              วิธีเหมาคาแรงเปนนายจาง และลูกจางของผูรับเหมาดวย

                            4)  เรงรัดใหมีการจัดทํานโยบายสนับสนุนใหมีการจางงานที่เปนธรรมเหมาะสม
              ในสถานประกอบการ คือ ในหนึ่งกระบวนการผลิต ตองคุมครองแรงงานใหมีสภาพการจาง และ

              สิทธิประโยชนที่เทาเทียมกัน มีการยกเลิกการจางเหมาคาแรงหรือไมก็ได
                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

                         คําตอบชี้แจง
                            กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีนโยบายสนับสนุนใหมีการจางงานที่เปน

              ธรรมในสถานประกอบกิจการ ขณะนี้อยูระหวางดําเนินการรางแกไขมาตรา 5(3) ใหผูประกอบ
              กิจการปฏิบัติตอลูกจางของผูรับเหมาคาแรงใหเทาเทียมกับลูกจางของตนเอง ซึ่งในระหวางที่การ

              แกไขกฎหมายยังไมแลวเสร็จ กรมฯ ไดสั่งการใหตรวจสอบสถานประกอบกิจการที่มีการจางเหมา
              คาแรงใหปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัด หากกระทําผิดใหดําเนินคดีอาญา และคดีแพง

                            5)  รัฐบาลควรรับรองอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศฉบับที่ 87 และ
              98 เพื่อคุมครองสิทธิการจัดตั้งสหภาพแรงงาน และการเจรจาตอรองรวมของแรงงานทุกอาชีพให

              เขมแข็งสอดคลองกับมาตรฐานสากล

                            หนวยงานรับผิดชอบ : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน
                         คําตอบชี้แจง

                            กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานไดศึกษาวิจัยความพรอมของไทยในการให
              สัตยาบันอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศฉบับที่ 87 และ98 เมื่อป 2546 สรุปวาการให

              สัตยาบันอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ จะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และ
              ประเพณีนิยม โดยตองมีการแกไขกฎหมายใหสามารถรองรับการใหสัตยาบันอนุสัญญาได ซึ่งตอง

              ใชเวลานานพอสมควร และกอนใหสัตยาบันควรทําประชาพิจารณพรอมกันทั่วประเทศ ทั้งนี้การให
              หรือไมใหสัตยาบันอนุสัญญาทั้งสองฉบับไมสําคัญ เพราะรัฐธรรมนูญไทยไดใหสิทธิเสรีภาพใน

              การรวมตัวอยูแลว แตสิ่งที่สําคัญ คือ การใหความรูในเรื่องนี้แกประชาชนใหทั่วถึงกอน สําหรับการ
              ดําเนินงานตอไป กรมฯจะนําเรื่อง การรับรองอนุสัญญาฉบับที่ 87 และ98 เขาสูการพิจารณาของ

              คณะทํางานทบทวนราง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ พ.ศ. .... ซึ่งเปนกรรมการไตรภาคีอีกครั้งหนึ่ง


                                                                                          63
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71