Page 28 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 28

ขอเสนอแนะเพื่อการคุมครองสิทธิแรงงาน


               จัดทําโดย คณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                    นําเสนอโดย    นายชฤทธิ์ มีสิทธิ์

                                                                         อนุกรรมการสิทธิแรงงาน

                     จากการศึกษารายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ของคณะอนุกรรมการ

              สิทธิแรงงาน ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในป ๒๕๔๙ และป ๒๕๕๐  มีการจัดทํา

              รายงานผลการตรวจสอบทั้งสิ้น จํานวน   เรื่อง  สรุปสาระสําคัญของขอเสนอแนะทั้งในเชิงนโยบาย
              และกฎหมายไดดังนี้
              ๑.  ดานการคุมครองสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานและสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐาน

                     ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย  มีดังนี้

                     ๑)   ใหมีนโยบายเพื่อดูแลและคุมครองลูกจาง  หรือคนทํางานที่ประสบอันตรายจากการ
              ทํางานใหไดรับการรักษาพยาบาล  และการฟนฟูสมรรถภาพของรางกายถูกตองตามหลักเกณฑของ

              อาชีวอนามัย    จนสามารถประกอบอาชีพที่เหมาะสมไดตามปกติ
                         จัดระบบบริหารจัดการในเรื่องดังกลาวอยางครบวงจร  ทั้งในดานการสงเสริมและ

              ปองกัน  การรักษาเยียวยาและทดแทน  การฟนฟูสมรรถภาพของรางกาย  การฝกทักษะอาชีพ  และ
              การจัดหางานที่เหมาะสมใหกับคนทํางานที่ประสบอันตรายจากการทํางาน

                         เห็นชอบรางพระราชบัญญัติสถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ

              สภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ..... ( ฉบับบูรณาการ)  ซึ่งทั้งภาครัฐและภาคประชาชนไดรวมกัน
              จัดทํา ตั้งแตป ๒๕๔๔  มีหลักการสําคัญคือ เปนองคการมหาชน  ทํางานครบวงจรทั้งในดาน
              ปองกัน สงเสริม ตรวจรักษา แกไขเยียวยา ชดใชทดแทน บําบัดฟนฟู   องคประกอบพหุภาคี และให

              โนกองทุนเงินทดแทนมาอยูในสถาบัน ฯ

                     ๒)   ใหมีนโยบายหรือมาตรการเชิงปองกัน  สําหรับลูกจางที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับงาน
              ขนสง หรือการขับขี่ยานพาหนะ   เนื่องจากเปนงานเสี่ยงอันตราย   เกิดผลกระทบตอครอบครัว  ตอ

              สาธารณชน  การผลิต  และสังคมโดยรวม
                            ใหหนวยงานที่เกี่ยวของจัดทําแผนงาน  กิจกรรมและการประเมินผลการดําเนินงาน

              เพื่อลดความเสี่ยงอันตรายในการทํางาน  โดยตระหนักถึงปจจัยเสี่ยงที่สําคัญ  เชน  ความรูและความ
              รับผิดชอบในการขับขี่  ชั่วโมงการทํางานที่ยาวนาน  และพนักงานที่มีอายุมาก  โดยกําหนดเปน

              แผนงานระยะยาว  มิใชจํากัดแตเพียงการรณรงคเพื่อสรางภาพลักษณของหนวยงานที่รับผิดชอบ
              เทานั้น




                                                                                          25
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33