Page 25 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 25

เอกภาพของระบบอุทธรณคําสั่งในกฎหมายฉบับเดียวกันวา ซึ่งกระทรวงแรงงานไดตระหนักถึง
              สภาพปญหาดังกลาว จึงเสนอรางพระราชบัญญัติจัดหางานและคุมครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ.

              ....  เพื่อใหผูเกี่ยวของไดรับความเปนธรรมจากบทบัญญัติของกฎหมายที่มีความชัดเจน สงเสริม
              ศักยภาพในการแขงขันของประเทศโดยสนองตอบความตองการแรงงานอยางเปนประโยชนตอการ

              พัฒนาประเทศ สรางมาตรการเพื่อใหคนหางานซึ่งเปนผูดอยโอกาสและยากจนไดเขาถึงความเปน

              ธรรมจากกระบวนการยุติธรรม และสรางหลักประกันแหงการใหความคุมครองคนหางานมากยิ่งขึ้น
              จากมาตรการของกฎหมายที่ใชบังคับอยูในปจจุบัน


                     สรุปสาระสําคัญ

                     ๑.  กําหนดใหการจัดหาลูกจางตางดาวใหนายจางในประเทศเปนสวนหนึ่งของการจัดหา

              งาน และสรางบทบัญญัติอันจําเปนขึ้นใชบังคับ และกําหนดหมวดการขออนุญาตและการอนุญาต
              เปนหมวดการจัดหางานในประเทศ การจัดหางานเพื่อไปทํางานในตางประเทศ และการจัดหาลูกจาง

              ตางดาวใหนายจางในประเทศใชรวมกันแทนการกําหนดเปนบทบัญญัติที่ใชบังคับโดยอนุโลม
                     ๒.  สรางความมั่นคงของหลักประกันการดําเนินธุรกิจจัดหางานโดยกําหนดให

              หลักประกันการดําเนินธุรกิจมีสัดสวนที่เปนเงินสด และใหอํานาจนายทะเบียนสั่งเปลี่ยนแปลง
              ประเภทหลักประกันกรณีที่ขอเท็จจริงเปลี่ยนแปลงไปซึ่งเปนเหตุใหไมสามารถบังคับใหชําระหนี้

              ไดเต็มจํานวน
                     ๓.  เพิ่มอํานาจหนาที่แกพนักงานเจาหนาที่ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง และกําหนดใหคดีที่

              คนหางานจะตองใชสิทธิเรียกรองตอผูรับอนุญาตจัดหางานอยูในอํานาจศาลแรงงาน ตลอดจน
              เจาหนาที่มีอํานาจฟองคดีหรือแกตางคดีใหแกคนหางาน

                     ๔.  แกไขระบบอุทธรณคําสั่งตามกฎหมายใหเปนเอกภาพในกฎหมายฉบับเดียวกัน

              (6)  รางพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

                     ความเปนมาของการเสนอรางกฎหมาย

                     พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เปนกฎหมายที่บัญญัติขึ้นมาเพื่อการใหความ
              คุมครองในสิทธิประโยชนแกผูประกันตนกรณีเจ็บปวย หรือประสบอันตราย กรณีทุพพลภาพ กรณี

              ตาย อันไมเนื่องมาจากการทํางาน กรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะหบุตร กรณีชราภาพ และกรณี
              วางงาน แมวาจะมีการแกไขปรับปรุงมาแลว ๒ ครั้งคือ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ

              ประกันสังคม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๗ และแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับ
              ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ แตเนื่องจากกฎหมายวาดวยการประกันสังคมเปนกฎหมายที่สงผลกระทบตอ

              บุคคลเปนจํานวนมาก ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองแกไขปรับปรุงให




              22
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30