Page 22 - รายงานสัมมนานโยบายพัฒนากฎหมายแรงงาน และคุ้มครองสิทธิแรงงาน
P. 22

ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ตองขึ้นทะเบียน หรือไดรับอนุญาตตาม
              หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

                     ๓.  กําหนดใหมีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
              ทํางาน ประกอบดวยปลัดกระทรวงแรงงาน เปนประธานกรรมการ มีกรรมการโดยตําแหนง

              กรรมการผูแทนฝายนายจางและผูแทนฝายลูกจาง ฝายละเจ็ดคน กับผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้ง

              อีกหาคนเปนกรรมการ
                     ๔.  กําหนดอํานาจหนาที่พนักงานตรวจความปลอดภัย ใหมีอํานาจเขาไปในสถานประกอบ

              กิจการ ตรวจสอบ บันทึกภาพ ใชเครื่องมือในการตรวจวัด เก็บตัวอยางวัสดุ และสอบถามขอเท็จจริง
              หรือสอบสวนเรื่องใดๆ รวมทั้งใหสงเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ

                     ๕.  ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นในกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรียกวา “กองทุนความ
              ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน” เพื่อเปนทุนใชจายในการดําเนินการดาน

              ความปลอดภัย

              (3)  รางพระราชบัญญัติสงเสริมการประกอบอาชีพ พ.ศ. ....

                     ความเปนมาของการเสนอรางกฎหมาย
                     สภาพสังคมไทยในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปสูสังคมเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น ไดมีการนํา

              เครื่องจักร เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยตางๆ เขามาใชในการดําเนินธุรกิจ ทําใหเกิดผล

              กระทบตอผูประกอบการ ผูปฏิบัติงาน ประชาชนโดยทั่วไป และสาธารณะในดานตางๆ  นอกจากนี้
              ปจจุบันมีการขาดแคลนกําลังแรงงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพในหลายสาขาอาชีพและไมมีกรอบ

              แนวทางที่ชัดเจนในการพัฒนาศักยภาพของผูประกอบอาชีพ เปนผลทําใหการพัฒนาทรัพยากร
              บุคคลของประเทศ ไมสามารถตอบสนองความตองการของภาคเอกชนไดอยางถูกตอง เหมาะสม

              สงผลกระทบตอศักยภาพในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ และยังสงผลตอสภาพการจาง
              โดยเฉพาะในดานการจายคาจางคาตอบแทนในภาคเอกชน ประกอบกับไดมีนโยบายในการสงเสริม

              บทบาทขององคกรเอกชนและภาคประชาชน ใหมีบทบาทควบคูกับองคกรภาคราชการในการ
              พัฒนาศักยภาพของประชาสังคมและชุมชนทองถิ่น เพื่อกอใหเกิดการรวมกลุมที่มีความเขมแข็ง

              สามารถพิทักษปกปองสิทธิและผลประโยชนของตนและสังคมไทย โดยเนนบทบาทภาคเอกชนเปน
              กลไกรากฐาน ผนึกกําลังรวมกับภาครัฐ ใหครอบคลุมถึงการพัฒนาคุณภาพแรงงานระดับตางๆ ตาม

              ความเหมาะสม จึงเห็นควรใหมีกฎหมายเพื่อใชเปนเครื่องมือในการดําเนินการแกไขปญหาตางๆ

              ดังกลาว





                                                                                          19
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27