Page 60 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 60
๓ ๓
บทที่
บทที่
ประโยชน์ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงที่มีประสิทธิภาพ
และผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหาทั้งเฉพาะหน้าและ
ในระยะยาว
(๙) การประสานงานในการตรวจสอบการรณรงค์
และการผลักดันการแก้ไขกฎหมายและนโยบายของรัฐ
รวมทั้งการเยียวยาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ร่วมกับ
คณะกรรมาธิการการแรงงาน ในสภาผู้แทนราษฎร และ
วุฒิสภา และชมรมสมาชิกรัฐสภาหญิง
นั่นคือบทบาทหน้าที่ของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ซึ่งดำเนินงานไปอย่างกว้างขวางตาม
ภารกิจที่ กสม.มอบหมาย และคณะอนุกรรมการฯ เป็นกลไกหลักในการไกล่เกลี่ยในกรอบ
สิทธิมนุษยชน และจัดทำรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อเสนอต่อ กสม.
รวมทั้งการรณรงค์เพื่อเสนอแนะนโยบายของรัฐ กฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้การส่งเสริม
และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นไปอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน บนพื้นฐานçสิทธิแรงงานคือสิทธิมนุษยชน
๖๐ สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน
Master 2 anu .indd 60 7/28/08 8:51:07 PM