Page 36 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 36

๒
        บทที่






                    ๒๐. สิทธิในการชุมนุมโดยสันติและการรวมกลุ่มโดยอิสระ
                    ๒๑. สิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยอิสระ และเข้าถึงบริการสาธารณะ
                    ๒๒. สิทธิด้านแรงงาน ได้แก่ การเลือกงานโดยอิสระ ในเงื่อนไขอันยุติธรรม คุ้มครองการว่าง
              งาน ได้รับค่าจ้างเท่าเทียมกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ ได้รับค่าจ้างยุติธรรม การคุ้มครองทางสังคม สิทธิจัด
              ตั้งและเข้าร่วมสหพันธ์แรงงาน
                    ๒๓. สิทธิในความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
                    ๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีวันหยุดงาน
                    ๒๕. สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ ได้รับบริการทางสังคมและหลักประกันการว่างงาน สิทธิ
              ของมารดา และบุตรในการได้รับความคุ้มครองทางสังคมเป็นพิเศษ

                    ๒๖. สิทธิในการศึกษา
                    ๒๗. สิทธิในการเข้าร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์โดยอิสระ
                    ๒๘. สิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากระเบียบสังคมทั้งในและระหว่างประเทศตามที่กำหนดไว้ใน
              ปฏิญญา
                    ๒๙. บุคคลมีหน้าที่ต่อชุมชน การใช้สิทธิเสรีภาพต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่นและไม่
              ขัดต่อหลักการของสหประชาชาติ
                    ๓๐. ห้ามรัฐ กลุ่มชนหรือบุคคล ละเมิดสิทธิเสรีภาพที่กำหนดในปฏิญญานี้


              	     (๒) กติกา และอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี ได้แก่
              	     ๑. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๙๑)
                    ๒.  กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ  สังคม  และวัฒนธรรม  ค.ศ.๑๙๖๖
              (พ.ศ. ๒๕๐๙)
              	     ๓. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖ (พ.ศ. ๒๔๐๙)
                    ๔. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบของ องค์การสหประชาชาติ
              ค.ศ.๑๙๗๙ (พ.ศ. ๒๕๒๒)
                    ๕. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กขององค์การสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๘๙ (พ.ศ. ๒๕๓๒)

                    ๖.  อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ  ค.ศ.๑๙๖๕
              (พ.ศ. ๒๕๐๘)
              ††††††††††††††   กติกาและอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิทธิแรงงาน
                         (๒.๑)  กติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง  ค.ศ.
              ๑๙๖๖ (พ.ศ.๒๕๐๙) ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี พ.ศ. ๒๕๓๙
มีสาระสำคัญ ดังนี้
              
     ข้อ ๒ ข้อย่อย ๑ และข้อย่อย ๓ มีสาระสำคัญ ดังนี้
              	     (๑)  รัฐภาคียอมรับที่จะเคารพและประกันแก่ปัจเจกบุคคลทั้งปวงในดินแดนของตนในสิทธิ

              ทั้งหลายที่ได้รับรองไว้ในกติกานี้ โดยปราศจากการแบ่งแยกใด ๆ อาทิ เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา
              ศาสนา  ความคิดเห็นทางการเมืองหรือความคิดเห็นอื่นใด  เผ่าพันธุ์แห่งชาติหรือสังคม  ทรัพย์สิน
              กำเนิด หรือสถานะอื่น ๆ


        ๓๖    สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน





     Master 2 anu .indd   36                                                                      7/28/08   8:46:28 PM
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41