Page 35 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 35

เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง หรือเผ่าพันธุ์แห่งชาติ หรือสังคม ทรัพย์สิน กำเนิดหรือ

              สถานะอื่น ๆ
                    ๓. สิทธิในการดำรงชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงในชีวิต
                    ๔. ห้ามการเป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ
                    ๕. ห้ามการทรมาน หรือลงโทษอย่างโหดร้ายผิดมนุษยธรรม
                    ๖. สิทธิที่จะถือเป็นบุคคลตามกฎหมาย
              	     ๗. สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายโดยเสมอภาค ปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ
                    ๘. สิทธิได้รับการเยียวยาจากศาลเมื่อถูกละเมิดตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
                    ๙. ห้ามการจับกุมคุมขังหรือเนรเทศไปต่างถิ่นโดยพลการ
                    ๑๐. สิทธิได้รับพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยจากศาลที่เป็นอิสระ

                    ๑๑. สิทธิได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่ามีความผิดตามกฎหมาย
                    ๑๒. สิทธิในการไม่ถูกแทรกแซงโดยพลการในความเป็นส่วนตัว ในครอบครัวในเคหสถาน หรือ
              ในการสื่อสาร หรือจะถูกลบหลู่ในเกียรติยศและชื่อเสียงไม่ได้
                    ๑๓. สิทธิในการเดินทางและย้ายที่อยู่
                    ๑๔. สิทธิที่จะขอลี้ภัยในประเทศอื่น
                    ๑๕. สิทธิในการถือสัญชาติและเปลี่ยนสัญชาติ
                    ๑๖. สิทธิในการสมรสและสร้างครอบครัว

                    ๑๗. สิทธิที่จะมีทรัพย์สิน และจะถูกริบทรัพย์สินโดยพลการไม่ได้
                    ๑๘. เสรีภาพที่จะนับถือศาสนา มีความคิดความเชื่อโดยอิสระ
                    ๑๙. เสรีภาพในการแสดงออก การแสดงความคิดเห็นและการได้รับข้อมูล ข่าวสาร


                                                                    และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน  ๓๕





     Master 2 anu .indd   35                                                                      7/28/08   8:46:27 PM
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40