Page 31 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 31
บทนำ
ทั้งนี้ มีการศึกษาจำแนกตามมิติของสิทธิแรงงาน ซึ่งประกอบไปด้วย มิติกฎหมายคุ้มครอง
แรงงาน สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน การประกันสังคม เสรีภาพในการรวมตัวและการ
เจรจาต่อรอง และมิติการจ้างงานโดยไม่เป็นธรรม บางกรณีร้องเรียนก็มีหลากหลายมิติ รวมทั้งเป็น
ปัญหาจากฎหมายและนโยบายด้วย สถิติเรื่องร้องเรียน มีสาระสำคัญ ดังนี้
มิติสิทธิแรงงาน
ที่ ประเภท รวม กฎหมาย การประกัน ความปลอดภัย เสรีภาพใน การจ้างงาน
กลุ่มคนทำงาน คุ้มครอง สังคม ในการทำงาน การรวมตัว โดยไม่เป็นธรรม
แรงงาน และเงินทดแทน /ต่อรอง - จ้างเหมาค่าแรง
- จ้างงานระยะสั้น
- จ้างงานนอกระบบ
๑ ภาคเอกชน* ๑๕๘ ๗๐ ๖ ๑๔ ๕๐ ๑๔
๒ ภาครัฐ/ ๕๐ ๒๒ ๐ ๑ ๐ ๒๗
รัฐวิสาหกิจ
๓ แรงงาน ๓
นอกระบบ
๔ แรงงานไทย ๑๒
ไปทำงาน
ต่างประเทศ
๕ แรงงานข้ามชาติ ๑๘
รวม ๒๔๐ ๑๒๕ ๖ ๑๕ ๕๐ ๔๑
๕.๑ ตารางแสดงจำนวนกรณีร้องเรียน การละเมิดสิทธิแรงงานภาคเอกชน (๑๕๘ กรณี)
มิติการละเมิดสิทธิ จำนวน ร้อยละ
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ๗๐ ๔๕
ความปลอดภัยและเงินทดแทน ๑๔ ๙
ประกันสังคม ๖ ๔
เสรีภาพในการรวมตัว/ต่อรอง ๕๐ ๓๓
การจ้างงานไม่เป็นธรรม ๑๔ ๙
รวม ๑๕๘ ๑๐๐
*
* ในกลุ่มนี้มีการละเมิดในมิติอื่นๆ เช่น สิทธิส่วนบุคคล หรือศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของลูกจ้างเพิ่มเติมจากตารางอีก จำนวน ในกลุ่มนี้มีการละเมิดในมิติอื่นๆ เช่น สิทธิส่วนบุคคล หรือศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของลูกจ้างเพิ่มเติมจากตารางอีก จำนวน
๓ เรื่อง (อ้างแล้วหน้า ๒)
และบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงาน ๓๑
Master 2 anu .indd 31 7/28/08 8:45:15 PM