Page 156 - สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงานและบทเรียนหกปีของคณะอนุกรรมการสิทธิแรงงานในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
P. 156
๖
บทที่
ข้อเสนอเครือข่ายแรงงานนอกระบบ
ข้อเสนอของคณะอนุกรรมการฯ สปส.
๑. ขอบเขตการขยายความคุ้มครอง
• ขยายความคุ้มครองในรูปแบบบังคับเป็นกลุ่ม
• ˇ พิจารณาถึงหลักการเฉลี่ยทุกข์ เฉลี่ยสุข โดย อาชีพ โดยเน้นกลุ่มที่มีความชัดเจนในเรื่องราย
ให้แรงงานนอกระบบทุกคนเข้าสู่โครงการประกัน ได้และความสนใจ โดยจะมีการศึกษาราย
สังคม ละเอียดของกลุ่มต่างๆ เช่น จำนวน รายได้เฉลี่ย
ความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ ฯลฯ โดยเน้นที่
๖ กลุ่มก่อน คือ
๑) ขับรถรับจ้าง ๒) มัคคุเทศก์ ๓) บริการใน
สถานบันเทิง ๔) นวดเพื่อสุขภาพ ๕) ขายสินค้า
แผงลอยที่มีการขึ้นทะเบียนกับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ๖) พนักงานขายตรง
๒. อัตราเงินสมทบ
• ไม่เกิน ๔.๕ ของรายได้ สำหรับประโยชน์
•
จ่ายเงินสมทบตามฐานของรายได้ ทดแทน ๔ กรณี คือประสบอันตราย เจ็บป่วย
คลอดบุตร ทุพพลภาพ และตาย โดยจะมีการ
ศึกษารายได้เฉลี่ยของแต่ละกลุ่มอาชีพต่อไป
๓. ใครมีส่วนร่วมจ่ายเงินสมทบ
• รัฐบาลมีส่วนร่วมจ่าย เท่าไร อย่างไร ให้มีการ
• รัฐบาล ผู้ว่าจ้าง หรือ เจ้าของงาน หรือผู้ได้ ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการกำหนดสัดส่วน
รับผลประโยชน์จากการทำงานของแรงงาน เงินสมทบระหว่างแรงงานนอกระบบ และรัฐบาล
๔. ประโยชน์ทดแทน
• ให้ประโยชน์ทดแทน ๖ กรณี ในระยะแรก
• ต้องได้รับสิทธิประโยชน์เท่าเทียมกับประกัน เริ่ม ๔ กรณี (ประสบอันตราย,ทุพพลภาพ,
สังคมของแรงงานในระบบ คลอดบุตร และตาย)
ในเบื้องต้นเสนอให้จัดประโยชน์ทดแทน ๔ เรื่อง กรณีชราภาพ - ประสานกับกระทรวงการ
คือ คลังเกี่ยวกับความชัดเจนของนโยบายการจัดตั้ง
๑. เงินทดแทนขาดรายได้เนื่องจากการเจ็บป่วย กองทุนบำเหน็จบำนาญสำหรับแรงงานนอก
ประสบอุบัติเหตุและไม่สามารถทำงานได้ ระบบ
๒. กรณีทุพพลภาพ
๓. กรณีเสียชีวิต ได้ค่าทำศพ และเงิน
สงเคราะห์บุตร ของผู้เสียชีวิต
๔. กรณีชราภาพ
๕. การบริหาร มีส่วนร่วมกำหนดการคุ้มครอง • จัดตั้งกองทุนประกันสังคมแรงงานนอกระบบ
และการบริหารกองทุนประกันสังคมแรงงานนอกระบบ แยกจากกองทุนใหญ่
๖. ประสานกับหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อ
สนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนสำหรับแรงงาน
นอกระบบ และประชาชนทั่วไป เช่นกระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคม และความ
มั่นคงของมนุษย์
๑๕๖ สถานการณ์การละเมิดสิทธิแรงงาน
Master 2 anu .indd 156 7/28/08 9:08:19 PM